Su Kalayar Hlaingอรวมน ศรียุกตศุทธAurawamon Sriyuktasuthดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศDoungrut Wattanakitkrileartมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์2019-06-282019-06-282019-06-282018Journal of Nursing Science. Vol. 36, No. 1 ( Jan. - Mar. 2018), 87-96https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44195Purpose: To examine the predictive power of age, sex, depression, and social support on health-related quality of life among patients with myocardial infarction in Myanmar. Design: Predictive correlational design. Methods: The sample consisted of 100 myocardial infarction patients diagnosed for at least three months and came to follow-up at Cardiology Clinic, Yangon General Hospital, Myanmar. Data were collected by using demographic form, the World Health Organization Quality of Life Questionnaire (WHOQoL-BREF), the Patients Health Questionnaire (PHQ-9), and the Social Support Questionnaire. Descriptive statistics and multiple regression analysis were used for data analysis. Main findings: The mean score of the overall health-related quality of life was found to be moderate (M = 82.02, SD = 8.84). The mean age of the samples was 60.6 years (SD = 8.98) and 67% were men. The majority of the sample had mild depression (M = 5.23, SD = 6.10). Sixty percent of them perceived high-level social support. In multiple regression analysis, age, sex, depression, and social support jointly accounted for 34.1% of the variance in overall health-related quality of life (R2 = .341, F(4, 95) = 7.327, p < .001). Depression was the only one variable significantly predicting health-related quality of life (β = - .505, p < .001). Conclusion and recommendations: Findings from this study revealed moderate health-related quality of life in Myanmar patients with myocardial infarction and depression was the important predictor. The patients should be assessed for depression regularly to reduce depressive symptoms and improve health-related quality of life.วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอํานาจการทํานายของตัวแปรอายุ เพศ ภาวะซึมเศร้า และการสนับสนุนทางสังคมต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายในประเทศพม่า รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานายวิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายจํานวน 100 ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยมาแล้วอย่างน้อย 3 เดือน และมาติดตามการรักษาที่คลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลย่างกุ้ง ประเทศพม่า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามคุณภาพชีวิต แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา และสถิติถดถอยพหุคูณผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (M = 82.02, SD = 8.84) อายุเฉลี่ย 60.6 ปี (SD = 8.98) ร้อยละ 67 เป็นเพศชาย กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าในระดับปานกลาง (M = 5.23,SD = 6.10) ร้อยละ 60 มีการรับรู้การสนับสนุนทางสังคมในระดับสูง ตัวแปรอิสระทุกตัวสามารถร่วมกันทํานายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 34.1 (R2 = .341, F(4, 95) = 7.327, p < .001) และปัจจัยที่สามารถทํานายคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายในประเทศพม่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติคือ ภาวะซึมเศร้า (β = - .505, p < .001)สรุปและข้อเสนอแนะ: คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายในประเทศพม่าอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีภาวะซึมเศร้าเป็นปัจจัยทํานายที่สําคัญ จากผลการศึกษาในครั้งนี้ ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายในประเทศพม่าควรได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าเป็นระยะเพื่อแก้ไขภาวะซึมเศร้าและส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยให้ดีขึ้นengMahidol Universitydepressionhealth-related quality of lifeMyanmarmyocardial infarctionภาวะซึมเศร้าคุณภาพชีวิตประเทศพม่าโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายJournal of Nursing Scienceวารสารพยาบาลศาสตร์Factors Predicting Health-Related Quality of Life among Patients with Myocardial Infarction in Myanmarปัจจัยทํานายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายในประเทศพม่าArticleคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล