Pornrattana ChumaneeApisit LaosantisukWanson KeawmaneeKanchana KengkoomThanaporn Pinpartพรรัตนา ช่อมณีอภิสิทธิ์ เหล่าสันติสุขวสันต์ แก้วมณีกาญจนา เข่งคุ้มธนพร พิณพาทย์Mahidol University. National Laboratory Animal Center. Office of Laboratory Animal Productionมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สํานักงานผลิตสัตว์ทดลอง2017-07-302017-07-302017-07-302014Journal of Professional Routine to Research. Vol.1 (Aug,2014), 1-5https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2621Reproductive performance consisting of mean litter size, number of pups that wean (wean: born ratio) and mean reproductive index of three inbred mice strains, which are BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac, were investigated to provide some basic information on the breeding and maintaining of a foundation colony. These strains are designated as specific pathogen free animals (SPF) by the National Laboratory Animal Center, Mahidol University (NLAC-MU), the organization in which they were housed under the maximum barrier system. The data from twenty generations of each strain were analyzed by t-test and non-parametric test. The mean litter size (born) values were 4.6±1, 6.2±1.4 and 4.3±1.0, and the wean:born ratios were 0.90±0.1, 0.81±0.2 and 0.83±0.2 for BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac, respectively. Furthermore, their mean reproductive indexes were 1.03, 0.94 and 0.71, respectively. Comparison results of the three inbred strains suggested that the reproductive performance of BALB/cMlac is better than that of C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac.สมรรถภาพการสืบสายพันธุ์อันประกอบด้วย ขนาดครอกโดยเฉลี่ย (mean litter size) อัตราส่วนการหย่า นมต่อจำนวนลูกที่เกิด (wean: born ratio) และค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ย (mean reproductive index) ของ หนูเม้าส์เลือดชิดของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลจำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac ได้ถูกคำนวณออกมาเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับการผสมและดูแลโคโลนี สืบสายพันธุ์โดยหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์นี้จัดอยู่ในสถานะสัตว์ปลอดเชื้อจำเพาะ (SPF) และได้รับการ เพาะเลี้ยงอยู่ภายใต้ระบบการเลี้ยงแบบ Maximum barrier ที่ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล การศึกษานี้ได้เก็บรวบรวมข้อมูลการสืบสายพันธุ์ของหนูเม้าส์เลือดชิดแต่ละสายพันธุ์จํานวน 20 รุ่นการสืบสายพันธุ์ นํามาคำนวณและวิเคราะห์เปรียบเทียบผลทางสถิติด้วย t-test และ non-parametric test จากผลการคำนวณพบว่า ขนาดครอก (แรกเกิด)โดยเฉลี่ยของหนู BALB/cMlac C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac เป็น 4.6±1 6.2±1.4 และ 4.3±1.0 ตามลำดับ และอัตราส่วนการหย่านมต่อจำนวนลูกที่เกิดโดยเฉลี่ยเป็น 0.90±0.1, 0.81±0.2 และ 0.83±0.2 ตามลำดับเช่นกัน นอกจากนั้นค่าดัชนีการสืบสายพันธุ์โดยเฉลี่ยของทั้ง 3 สายพันธุ์เป็น 1.03 0.94 และ 0.71 จากผลการเปรียบเทียบหนูเม้าส์เลือดชิดทั้ง 3 สายพันธุ์ได้บ่งชี้ ว่าค่าสมรรถภาพการสืบสายพันธุ์ของหนู BALB/cMlac นั้นดีกว่าหนู C57BL/6Mlac และ DBA/2MlacengMahidol UniversityMiceInbred strainsReproductive performanceNLAC-MUวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยReproductive Performance Comparisons of Three Inbred Mice Strains (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac and DBA/2Mlac) at National Laboratory Animal Center, Mahidol University, Thailandการเปรียบเทียบสมรรถภาพการสืบสายพันธุ์หนูเมาส้ เลือดชิด 3 สายพันธุ์ (BALB/cMlac, C57BL/6Mlac และ DBA/2Mlac) ของศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทยResearch ArticleFaculty of Environment and Resource Studies Mahidol University