วลาสินี มูลอามาตย์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุข2016-04-252017-04-102016-04-252017-04-102016-04-252555Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2555), 9-161906-2257https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1687โรคยุคปัจจุบันเจริญอย่างรวดเร็ว มนุษย์อยู่อาศัยในสังคมเมืองมากขึ้น เช่นเดียวกับการเลี้ยงสัตว์เป็นเพื่อนควบคู่กันไป การเดินทางข้ามทวีปทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ขณะเดียวกันธรรมชาติก็มีการปรับเปลี่ยน ส่งผลให้เกิดภัยธรรมชาติบ่อยครั้งและรุนแรงมากกว่าในอดีต เหล่านี้ล้วนส่งผลต่อสุขภาพมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม เช่น การเกิดโรคอุบัติใหม่ ซึ่งหนึ่งในนั้นเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่มนุษย์ ดังนั้น แนวคิดเรื่อง one health จึงเกิดขึ้นจากความพยายามบูรณาการการทำงานร่วมกันของหลายสาขาวิชาชีพ เพื่อแก้ปัญหาที่สลับซับซ้อนที่เกิดจากผลกระทบร่วมกันระหว่างมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อมWe are facing with complex forms of global change today. Urbanization has been broadened worldwide as well as an increasing in numbers of companion animals. Transportation between cities, countries, and continents is more serviceable than in the past. However, natural disaster appears more frequent together with these changes, affecting humans, animals, and environment directly and indirectly; for example, re-emerging of zoonotic diseases, and antimicrobial resistance. Therefore, one health approach has been proposed the unification of the medical, veterinary, and related professions with the establishment of collaborative ventures in human health, animal health, and environmental health.thaมหาวิทยาลัยมหิดลone healthมนุษย์สัตว์สิ่งแวดล้อมโรคอุบัติใหม่animalenvironmenthumanre-emerging diseaseOpen Access articleความสำคัญของสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อนตามแนวทาง One HealthOne Health: companion animal perspectiveReview Articleคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล