สุวรรณี ตั้งไพศาลกิจSuwannee Tangpaisankitมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์2019-06-262019-06-262562-06-262561วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 92-100https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44167การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาหาความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 5 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีการศึกษา 2558 ทำให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจในด้านเนื้อหาคุณภาพของรูปภาพ และด้านการเข้าถึงระบบ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ และสื่อการสอนประเภทอื่น ๆ ต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ (percent) ค่าเฉลี่ย (X̄) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ข้อมูลทั่วไปพบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 92 คน เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.5 มีอายุระหว่าง 23-25 ปี ร้อยละ 63.0 ส่วนใหญ่ใช้สมาร์ทโฟนในการเข้าถึงเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ร้อยละ 85.9 สถานที่ที่นักศึกษาใช้ในการเข้าถึงเอกสารประกอบการสอนออนไลน์มากที่สุดคือที่คณะทันตแพทยศาสตร์และที่พักอาศัย ร้อยละ 55.4 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อความพึงพอใจเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ทั้ง 3 ด้าน พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจโดยรวมด้านคุณภาพของรูปภาพมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̄ = 4.09, SD = 0.73) รองลงมาเป็นด้านเนื้อหา (X̄= 3.97, SD = 0.65) และด้านการเข้าถึงระบบ (X̄= 3.81, SD = 0.80) ตามลำดับThis study investigates the fifth-year students’ satisfaction of the online teaching document of Mahidol University academic year 2015. It also intends to cognize each level of satisfaction in order to use it as a guideline to improve and develop the online tutorials and other types of media. The tools used in the study were questionnaires. Data were analyzed, using SPSS program. Percentage, mean (x̅), and standard deviation (SD) were statistically analyzed. The majority of respondents (68.5%) were female, and the majority (62%) was between 23 and 25 years of age. Most respondents (85.9%) used smartphones to access the online learning materials, and the online materials (55.4%) was provided by the Faculty of Dentistry and their residences. Their Satisfaction of the online teaching materials in all three aspects showed that the students had the most satisfaction with the image quality. (x̅ = 4.09, SD = 0.73), followed by content (x̅ = 3.97, SD = 0.65) and access to the system (x̅ = 3.81, SD = 0.80) respectively.thaมหาวิทยาลัยมหิดลความพึงพอใจสื่อการสอนออนไลน์สื่อการสอนออนไลน์satisfaction on the online teaching documentonline teaching documentความพึงพอใจต่อเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ ของนักศึกษาทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 5 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลSatisfaction on the online teaching document􀇰for fifth-year dental students, Mahidol UniversityResearch Articleคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลhttp://doi.org/10.14456/jmu.2018.8