พีรศุษม์ รอดอนันต์Pirasut Rodanantพรทิพย์ แซ่ลิ้มPhorntip Sae-Limอภิชาต สุขสำราญApichart Suksamrarจินตกร คูวัฒนสุชาติJintalorn KuvatanasuchatiMahidol University. Faculty of Dentistry. Department of Hospital Dentistry2014-06-282016-12-272014-06-282016-12-272557-06-062553-05พีรศุษม์ รอดอนันต์, พรทิพย์ แซ่ลิ้ม, อภิชาต สุขสำราญ, จินตกร คูวัฒนสุชาติ. ฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสมุนไพรไทย (แก้ว, สะเดา, สาบเสือ) ต่อเชื้อก่อโรคปริทันต์อักเสบ. ว ทันต มหิดล. 2553;30(2):163-72.0125-5614 (printed)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1049วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบของใบแก้ว, กิ่งต้นแก้ว, ใบสะเดาไทยและใบสาบเสือในการยับยั้งการเจริญของเชื้อก่อโรคปริทันต์อักเสบสามชนิด วัสดุอุปกรณ์และวิธีศึกษา : ส่วนต่าง ๆ ของแก้ว (Murraya panicu;ata), สะเดาไทย (Azadirachta indica var. Siamensis) และสาบเสือ (Chromolaena odorata) ได้ถูกนำมาสกัดด้วยตัวทำงายอินทรีย์ที่มีขั้วที่แตกต่างกันได้ได้แก่ เฮกเซน, เอทอลอะซีเตต, ไดคลอโรมีเทน, คลอโรฟอร์มและเมทานอล นำสารสกัดที่ได้มาทำการทดสอสบฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ต่อเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส (ATCC33277, FDC381), เชื้อพรีโวเทลลา อินเทอะมีเดีย (ATCC25611) และเชื้อแอกกริเกติแบคเทอร์ แอกทิโนมัยซิเตมโคมิแทนส์ (ATCC43718,Y4) โดยวิธิอะการ์ดิฟฟิวชั่น ผลการศึกษา : สารสกัดสมุนไพรทุกชนิดแสดงฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียทุกสายพันธุ์แต่มีความแตกต่างในประสิทธิภาพของการยับยั้ง ทั้งนี้สารสกัดหยาบของใบแก้วและกิ่งต้นแก้วที่ใช้เอทิลอะซิเตตเป็นตัวทำละลายแสดงประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกับคลอร์เฮกซิดีน 2% ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส สายพันธุ์ FDC 381 บทสรุป : สารสกัดหยาบของใบแก้ว, กิ่งต้นแก้ว , ใบสะเดาไทยและใบสาบเสือที่ใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ที่เหมาะสมในการสกัดจะแสดงประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อก่อโรคปริทันต์อักเสบพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส, พรีโวเทลลา อินเทอะมีเดียและแอกกริเกทิแบคเทอร์ แอกทิโนไมซีเท็มคอมิแทนส์Objective : The purpose of this study was to evaluate the antimicrobial activity of three Thai medicinal plants on three periodontopathic bacteria. Material and methods : Parts of Murraya paniculata, Azadirachta indica var. Siamensis and Chromolaena odorata were extracted using various organic solvents of different polarity; i.e. n-hexnae, ethyl acetate, dichloromethane, chloroform and methanol. The agar diffusion technique was used to screen the crude extracts for their antimicrobial activity against Porphyromonas gingivals (ATCC33277, FDC381), Prevotella intermedia (ATCC25611), and Aggrigatibactor actinomycetemcomitans (ATCC43718,Y4). Results : All extracts demonstrated growth-inhibition effect against all strains of tested bacteria but were different in spectrum of inhibition. The ethyl acetate extracts of Murraya paniculata leaves and Murraya paniculata chlorhexidine when test against Porphyromonas gingivalis FDC381. Conslusion : Crude extracts from leaves and branches of Murraya paniculata, leaves of Azadirachta indica var. Siamensis, and leaves of Chromolaena odorata using appropriate organic solvent demonstrated antimicrobial activity to Porphyromonas gingivalis, Prevotella intermedia and Actinobacillus Axtinomycetemcomitans.thaมหาวิทยาลัยมหิดลAntimicrobial activityThai medicinal plantsPeriodontopathic bacteriaCrude extractsฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์สมุนไพรไทยเชื้อก่อโรคปริทันต์อักเสบสารสกัดหยาบOpen Access articleวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดลMahidol Dental Journalฤทธิ์ต้านเชื้อจุลินทรีย์ของสมุนไพรไทย (แก้ว, สะเดา, สาบเสือ) ต่อเชื้อก่อโรคปริทันต์อักเสบAntimicrobial, activity of Thai medicinal plants (Murraya paniculata, Azadirachta indica var. Siamensis, Chromolaena odorata) against periodontopathic bacteriaArticleคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล