ภัทราวดี มั่นหมายรพีพรรณ เกลี้ยงเกล้าสุวนันท์ บุญเทพแคทรียา ฐานผดุงสุดารัตน์ โอทารัมย์ธัญญารัตน์ บำรุงการPhattarawadee ManmayRapeepan KleangklaoSuwanan BunthepCathareeya ThanphadungSudaratT Aotharam2023-12-212023-12-212566-12-212564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91578ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 198หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกพิเศษจักษุ (SDPY) มีการให้บริการแก่ผู้มารับ บริการเพิ่มขึ้นในทุกๆ ปี มีการทำหัตถการมากขึ้น ใช้เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ เยอะขึ้น ทำให้เกิดผลกระทบต่อ stock เวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่มีอยู่ใน ปัจจุบันซึ่งไม่เพียงพอต่อการใช้งาน เกิดการเบิกเวชภัณฑ์ทางการแพทย์แบบ เร่งด่วน ทางหน่วยตรวจจึงได้หาแนวทางเพื่อปรับปรุงการเบิก-จ่ายเวชภัณฑ์ ทางการแพทย์ให้เพียงพอต่อการใช้งานในรอบ 1 สัปดาห์และไม่มากเกินความ จำเป็นจนล้น Stock โดยมีการกำหนดให้เบิกของ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ปรับปรุง ใบเบิกเวชภัณฑ์ทางการแพทย์โดยเพิ่ม Min-Max Stock และการจัดเรียง สิ่งของตามหลัก FIFO และจัดทาสมุดสถิติการเบิก-จ่ายเวชภัณฑ์ทางการ แพทย์ และมีการดำเนินงานและการตรวจสอบอย่างเป็นระบบ หลังปรับปรุง พบว่าเวชภัณฑ์ทางการแพทย์เพียงพอและพร้อมต่อการใช้งานในรอบ 1 สัปดาห์ และ สามารถนำข้อมูลการใช้งานจริงในแต่ละสัปดาห์มาทา Stock Control ได้แม่นยำยิ่งขึ้นapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ผู้รับบริการการเบิก-จ่ายMahidol Quality Fairปรับปรุงการเบิกเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ SDPYProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล