ปราณี สุทธิสุคนธ์ดุษณี ดำมีเกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อมมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน2017-06-282017-06-282017-06-272551วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 6, ฉบับที่ 2 (2551), 143-1501905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2379วัยรุ่น วัยเรียน เป็นวัยที่ดำเนินชีวิตอยู่ในช่วงหัวเรียวหัวต่อ เป็นวัยที่ใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลอง ของใหม่ รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อน และเป็นวัยที่มองหาแบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามแบบ ในช่วงของวัยรุ่นควรมีผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต และครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญสิ่งแรก ที่ต้องให้การอบรม สั่งสอน ดูแล รองลงมาคือสถานที่ให้การศึกษา ให้ความรู้ พัฒนาคนให้มีศักยภาพและ คุณภาพชีวิตที่ดี เยาวชนทุกคนควรสร้างภูมิคุ้มกันสิ่งแวดล้อมให้กับตัวเอง ในการไม่หลงผิดเดินเข้า สู่วงจรของยาเสพติด ปัญหาที่พบมากที่สุดในการเดินเข้าสู่เส้นทางของยาเสพติดของวัยรุ่น วัยเรียน คือ การดื่มสุรา และ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การเที่ยวสถานบันเทิง การเล่นการพนัน การใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อย ปัญหาครอบครัว (ครอบครัวไม่มีความอบอุ่น) สิ่งแวดล้อม (มีแหล่งยาเสพติดระบาดอยู่ในหมู่บ้าน) เศรษฐกิจ (ว่างงาน มีหนี้สิน) และ จากตัวเอง (อยากรู้ อยากลอง) กระบวนการจะค่อยๆ พัฒนาขึ้นเรื่อยจนกระทั่ง ติดยาเสพติดในที่สุด ข้อเสนอแนะในการดูแลวัยรุ่น วัยเรียน โดยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ให้ดารา นักร้อง นักแสดงเป็นแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิตthaมหาวิทยาลัยมหิดล.ยาเสพติดDrugวัยรุ่นTeenagerนักเรียนStudentsOpen Access articleวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาJournal of Public Health and Developmentเส้นทางเข้าสู่ยาเสพติด วัยรุ่น วัยเรียนArticleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล.