อภิชาติ จิตต์เจริญApichart Chittacharoenมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา2022-10-112022-10-112565-10-112553รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 33, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2553), 233-2350125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79873การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญและพบมากขึ้นในสังคมปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหนัมากขึ้น และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังพบว่า เกิดภาวะแทรกซ้อนได้บ่อยซึ่งเป็นผลทำให้เกิดผลเสียต่อมารดาและทารกแรกเกิดได้ โดยพบว่าอัตราการทุพลภาพและอัตราการเสียชีวิตของมารดาที่เป็นวัยรุ่นและทารกแรกเกิดจะสูงขึ้นกว่าการตั้งครรก็ของมารดาที่เป็นผู้ใหญ่ทั่วไป ดังนั้น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นปัญหาที่ควรให้ความสนใจและต้องได้รับการแก้ไข และการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีภาวะแทรกช้อนที่สูงกว่าในการตั้งครรภ์ของมารดาที่เป็นผู้ใหญ่ทั่วไปและมีอัตราการทุพลภาพ อัตราการตายของมารดาและทารกแรกเคิตสูงขึ้น ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องให้คำแนะนำ คำปรึกษาและการดูแลจากแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์อย่างใกล้ชิดในกลุ่มมารดาที่เป็นวัยรุ่น โดยสรุปพบว่า ปัญหาที่พบบ่อยในมารดาวัยรุ่นหลังการตั้งครรภ์ เช่น ภาวะชีด ภาวะขาดสารอาหาร การดูแลตัวเองและทารกแรกเกิด และปัญหาการคุมกำเนิด การวางแผนการมีบุตรในครรภ์ต่อไป ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะหมดไปถ้าแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ได้ให้คำแนะนำและรักษาแก่มารดาวัยรุ่น ภายหลังการคลอดได้อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อที่จะลดปัญหาที่จะเกิดขึ้นแก่มารดาวัยรุ่น ขณะเดียวกันญาติที่ใกล้ชิดกับมารดาวัยรุ่นก็มีส่วนช่วยเหลือในการดูแลตัวเองและทารกแรกเคิต เพื่อลตความเครียตของมารตาวัยรุ่นและสามารถปรับตัว เพื่อเป็นมารดาที่ดีต่อไปthaมหาวิทยาลัยมหิดลการตั้งครรภ์วัยรุ่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น: ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นArticleภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล