สุขสิริ ด่านธนวานิชมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา2015-02-112017-02-172015-02-112017-02-172558-02-112548วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 1, ฉบับที่ 1 (2548), 44-49.https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1269การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการคือ ศึกษากระบวนการสร้างสัมพันธสารเรื่องเล่าในภาษามือไทยและศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการสร้างสัมพันธสารนั้นกับกระบวนการคิดของคนหูหนวก โดยมีแนวคิดตามทฤษฎี ภาษาศาสตร์ปริชาน (Cognitive Linguistics) ที่ว่า ภาษาเป็นภาพสะท้อนของความนึกคิดและการประมวลผลความคิดของ มนุษย์อย่างชัดเจน (ชัชวดี ศรลัมพ์, 1 : 2545) จากการศึกษาพบว่ากระบวนการสร้างสัมพันธสารเรื่องเล่าภาษามือไทยของคนหู หนวกนั้น มีลักษณะเหมือนกับการวาดภาพให้ผู้ดูภาษามือสามารถมองเห็นสิ่งที่ผู้ทำภาษามือได้ไปเห็นมา โดยวาดภาพพื้นหลัง (Ground) ก่อนภาพหลัก (Figure)This study aims to investigate the relationship between the structure of Thai Sign Language narrative discourse and the thinking process of the Deaf according to Cognitive Linguistic theory. It is said that language is the reflection of the human beings thinking process. The result of the study shows that the structure of Thai Sign Language narrative discourse begins with ground and is followed by figure.thaมหาวิทยาลัยมหิดลกระบวนการคิดสัมพันธสารคนหูหนวกการเล่าเรื่องวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการOpen Access articleJournal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilitiesความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการสร้างสัมพันธสารเรื่องเล่ากับกระบวนการคิดของคนหูหนวกในการเล่าเรื่องให้ผู้อื่นทราบThe relationship between the structure of Thai sign language narrative discourse and the thinking process of the deafArticleวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล