สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญติณณภพ พัฒนะณิชกานต์ บรรพตคณิศร เทียนทองSomboon SirisunhirunNisachon ChatthongTinapop PattanaNichakan BanphotKanisorn Thienthongมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ภาควิชาสังคมศาสตร์2020-04-202020-04-202563-04-202562วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 6, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2562), 257-299https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54333การคลังภาครัฐบาล (Public Finance) เป็นการคลังในส่วนของภาครัฐบาล ตลอดจนเป็นการคลังในกิจกรรมใดๆ ที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางการคลัง การเงินต่างๆ ของรัฐบาลที่ถือเป็นหน่วยที่สำคัญหน่วยหนึ่งของระบบสังคม และมีผลผูกพันและกระทบต่อพลเมืองในรัฐ ตลอดจนมีความเกี่ยวเนื่องกับบทบาทในทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการคลังภาครัฐของ 5 ประเทศ ได้แก่ ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลี เนื่องจากเป็นประเทศมหาอำนาจหรือผู้นำทางเศรษฐกิจของโลกหรือของภูมิภาคต่างๆ ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อรูปแบบเศรษฐกิจและการบริหารจัดการคลังภาครัฐ ตลอดจนมีพัฒนาการและภูมิหลังทางเศรษฐกิจที่น่าสนใจ เช่นกรณีการเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ไม่ว่าจะเป็นวิกฤติการณ์ต้มยำกุ้ง วิกฤติการณ์แฮมเบอร์เกอร์ ที่มีจุดเริ่มต้นจากประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดดของสาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลี หรือแม้กระทั้งการแยกตัวออกจากสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร จึงล้วนแต่เป็นประเทศกรณีตัวอย่างที่น่าศึกษาระบบการคลังภาครัฐได้เป็นอย่างดี โดยมีขอบข่ายสําคัญ ๆ เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่พิจารณาใน 6 เรื่อง ได้แก่ รายได้ของรัฐบาล (Government Reverence) รายจ่ายของรัฐ (Public Expenditure) หนี้สาธารณะ (Public Debt) งบประมาณแผ่นดิน (Government Budget) นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) และ นโยบายการเงิน (Monetary policy)Public Finance is a part of the government’s finances which thoroughly occupied and managed by the government. Besides, it is also related to the public monetary activities, which is an important institutional unit of the social system and it has inevitably been affected on citizen’ s lives in the country and has also played the key roles of public economy. The objective of this academic article is to compare the public finances of five countries including; Thailand, the United State of America, the United Kingdom, Singapore and the Republic of Korea. The main reason is that these countries are the world’s superpower, economic of various regions which all affected economic model, public finance and administration as well as have been interesting in economic development and backgrounds. For example, in case of major economic crisis, whether there’ re crisis of Tom Yum Kung, Hamburger Crisis with starting point from Thailand and the United States. Economic Development of the Republic of Singapore and Republic of Korea which leap forward or even the separation from the European Union of the United Kingdom. All of them are the countries that have supreme case study of the public finance system with important areas related to contents considered in six issues, defined in terms of them which are composed of government reverence, public expenditure, public debt, government budget, fiscal policy and monetary policy.thaมหาวิทยาลัยมหิดลการคลังภาครัฐเปรียบเทียบการคลังภาครัฐไทยการคลังภาครัฐสหรัฐอเมริกาการคลังภาครัฐสหราชอาณาจักรการคลังภาครัฐสาธารณรัฐสิงคโปร์การคลังภาครัฐสาธารณรัฐเกาหลีpublic finance comparisonThailand’s public financethe United State of America’s public financethe United Kingdoms’ public financeSingapore’s public financethe Republic of Korea’s public financeวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการIntegrated Social Science Journalการคลังภาครัฐเปรียบเทียบ : กรณีศึกษาไทย สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐสิงคโปร์ และสาธารณรัฐเกาหลีA Comparative Study of Public Finance : Cases Study of Thailand, the United State of America, United Kingdom, Singapore and KoreaResearch Articleคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล