Sheeza IbrahimSariyamon TiraphatSeo ah HongMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2017-06-302017-06-302017-06-292015Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 67-801905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2419Post Natal Care (PNC) is an important service for mother and newborn during the vulnerable period. Proper postnatal follow up would help to prevent many maternal and fetal deaths. It can identify the danger signs of life threatening for mothers and babies. According to WHO, globally PNC utilization is quite low, especially in developing countries. In Maldives, which is a unique archipelago of 1192 islands, the information about the prevalence of PNC and factors associated with PNC has been limited. This cross sectional study was conducted to determine the prevalence of postnatal care utilization and factors associated with PNC among mothers in Maldives islands. This research was a community based cross-sectional study undertaken in three different communities with primary, secondary and tertiary hospitals in Maldives. The data were collected from a sample of 253 mothers drawn from the study population using convenient sampling technique during May 3rd to 25th May 2015. Self-administered questionnaire, based on the factors from Andersen’s health and utilization model including predisposing, enabling, and need factors, also the Donabedian model of healthcare quality, was given to collect the data. Our outcome variable focused on postnatal care utilization that categorized as whether they complete postnatal visit within 6 weeks after child birth or not. For data analysis, Chi-square test and multiple logistic regression were applied to evaluate factors associated with PNC. The study revealed that the prevalence of PNC utilization was 34%. The results of multiple logistic regression indicated that cost of transportation, health insurance scheme, and mental health problem were the significant predictors for PNC utilization. Mothers who perceived that cost of transportation is expensive had more chance of getting PNC utilization 1.98 times (95% C.I:1.05 – 3.76) compared to those perceived that the cost is low. Mother who thought that the national health insurance scheme is very good had more chance of PNC utilization with 2.9 times (95% C.I: 1.21-7.03). Mother experienced mental health problem increased more chance of completing PNC with 2.0 times (95% C.I.: 1.07-4.05). The study indicated that the prevalence of postnatal care utilization was very low. Therefore, strengthening the provision of health insurance scheme is very important to enhance the accessibility for health care service. For mothers with mental health problem, individual counseling is recommended. Regarding cost of transportation, the establishment of affordable public transportation would be a supportive factor for better utilization of health services.การรับบริการที่คลินิกหลังคลอดเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับมารดาและทารกแรกเกิด การรับการบริการหลังคลอดที่ เหมาะสมจะช่วยป้องกันการเสียชีวิตของทารกและมารดา โดยการตรวจหลังคลอดจะสามารถระบุสัญญาณอันตรายที่เกิดขึ้นกับ มารดาและทารกแรกเกิดซึ่งจะช่วยป้องกันการเสียชีวิตของทารกและมารดาได้อย่างมีนัยสำคัญ องค์การอนามัยโลกระบุว่าการรับ บริการที่คลินิกหลังคลอดของประชากรทั่วโลกมีจำนวนค่อนข้างต่ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชากรในประเทศกำลังพัฒนา สำหรับ ประเทศมัลดีฟส์ ข้อมูลเกี่ยวกับ ความชุกของ การรับบริการที่คลินิกหลังคลอด และ ปัจจัย ที่เกี่ยวข้องกับการรับบริการที่คลินิก หลังคลอดยังคงจำกัด การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความชุกของการรับบริการที่คลินิกหลังคลอด และปัจจัย ที่เกี่ยวข้อง กับการรับบริการที่คลินิกหลังคลอดของมารดา ใน หมู่เกาะ มัลดีฟส์ การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางโดยเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิในประเทศ มัลดีฟส์ การสุ่มตัวอย่างแบบตามความสะดวกมีจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 253 คน ดำเนินการระหว่าง 3-25 พฤษภาคม 2015 การเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึ่งใช้ทฤษฎีของ Andersen’s health and utilization model ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร predisposing, enabling, และ need ร่วมกับ the Donabedian model of healthcare quality มีตัวแปรผล คือ ภายในช่วง 6 สัปดาห์หลังจาก การคลอดบุตร มารดามารับบริการที่คลินิกหลังคลอดครบ 3 ครั้งหรือไม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการ วิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกพหุคูณ การศึกษาพบว่า ความชุกของการรับบริการที่คลินิกหลังคลอด คิดเป็นร้อยละ 34 ผลการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกพหุคูณ พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการที่คลินิกหลังคลอด ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อไปรับบริการ โครงการประกัน สุขภาพ และมารดาที่ประสบปัญหาสุขภาพจิต โดยพบว่ามารดาที่ตระหนักว่าค่าใช้จ่ายในการเดินทางมีราคาสูงกว่า มีโอกาสที่ไปรับ บริการจากคลินิกหลังคลอดสูงกว่า 1.98 เท่า (95% CI : 1.05-3.76 ) มารดาที่ตระหนักว่าโครงการประกันสุขภาพแห่งชาติเป็น สิ่งที่มีประโยชน์มีแนวโน้มที่จะรับบริการจากคลินิกหลังคลอดสูงกว่า 2.9 เท่า (95% CI : 1.21-7.03 ) ปัญหาสุขภาพจิตของมารดา หลังคลอด สามารถเพิ่มโอกาสที่มารดาจะใช้บริการจากคลินิกหลังคลอด 2.0 เท่า (95% CI : 1.07-4.05) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าความชุกของการรับบริการที่คลินิก หลังคลอดอยู่ในระดับต่ำดังนั้น การปรับปรุง โครงการประกัน สุขภาพเพื่อเพิ่มการเข้าถึงการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับมารดาหลังคลอดที่มีปัญหาสุขภาพจิตการให้ คำปรึกษาส่วนบุคคลเป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึง ในประเด็นเรื่องการเดินทาง เนื่องจากมัลดีฟส์เป็นประเทศที่ล้อมรอบด้วยหมู่เกาะ จำนวนมาก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางจะเป็นปัจจัยสำคัญในการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพดังนั้นการพัฒนาระบบขนส่งมวลชน สาธารณะที่เหมาะสมจะสามารถส่งเสริมการเข้าถึงการบริการด้านสุขภาพของประชากรengMahidol UniversityPostnatal care utilizationPrimary hospitalSecondary hospitalTertiary hospitalMaldivesOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาFactors associated with post-natal care utilization among mothers in Maldivesปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับบริการที่คลินิก หลังคลอด ในหมู่เกาะ มัลดีฟส์Original ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University