วิภาดา ช่วยรักษาอินท์ชลิตา สุวรรณรังสิมาVipada ChuairaksaInchalita Suwanrangsima2025-04-292025-04-292568-04-292564วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 8, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 171-1842392-5515https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/109830การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาปัญหาการขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) เพื่อศึกษาระดับของปัญหาการขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัญหาการขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยเก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์บุคลากรจำนวน 25 คน และแบบสอบถามจำนวน 146 คน ซึ่งใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติในเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) กับการแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions) และร้อยละ (Percentage) และการวิจัยด้วยสถิติ T-test F-test ผลการวิจัยพบว่าปัญหาจากการขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุนคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เป็น 3 ด้าน คือ ด้านเวลา ด้านความรู้ และด้านแรงจูงใจ ดังนั้น จึงควรมีการพิจารณาการมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้ไม่มากเกินไป ให้มีการอบรมหรือให้ความรู้ในเรื่องของกฎเกณฑ์ ระเบียบ และความรู้ทางการวิจัยให้แก่บุคลากรอย่างสม่ำเสมอ และควรกำหนดนโยบายให้ผู้บริหารสร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรในคณะต่าง ๆ ในการขอตำแหน่งทางวิชาการ ให้มีการสนับสนุนและติดตามอย่างใกล้ชิดThis study has objectives namely 1) to study the problems of requesting academic positions of supporting staff, Faculty of Engineering, Mahidol University 2) to study the level of problems in requesting academic positions of supporting staff, Faculty of Engineering, Mahidol University and 3) to compare the problems of requesting academic positions of supporting staff, Faculty of Engineering, Mahidol University. Data were collected from interview forms classified by personal factors of 25 staff, and 146 staff with questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistical methods by mean, standard deviation, frequency distributions, percentage, and research by T-test F-test. The result of the research revealed that the problems from requesting academic positions of supporting staff at the Faculty of Engineering, Mahidol University can be divided into three aspects which are time, knowledge and motivation. Therefore, there should be no consideration for assigning responsibilities too much, providing training or knowledge regarding; rules, regulations, and research knowledge to personnel on a regular basis. Moreover, should set policies for executives to motivate staff in various faculties to request academic positions for close support and follow-up.14 หน้าapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าปัญหาการขอตำแหน่งทางวิชาการตำแหน่งทางวิชาการบุคลากรสายสนับสนุนProblems of requesting academic positionsSupporting Staffacademic positionsการศึกษาปัญหาการขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลChallenge of requesting positions of educational support staff: The comprehensive study on Faculty of Engineering, Mahidol UniversityResearch Articleสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดลhttps://doi.org/10.14456/jmu.2021.45