Kasana RaksamaniVorawan VanicharoenchaiNuntra Suwantarat2024-01-102024-01-10202020202024Thesis (M.Sc. (Health Science Education))--Mahidol University, 2020https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92132Health Science Education (Mahidol University 2020)Augmented reality (AR), in which the virtual objects are integrated into the real environment, is a novel technology-enabled/enhanced active learning for medical education. The primary goal of this study was to determine the effectiveness of the selfdirected learning AR handouts as a learning material for teaching the medical microbiology and infectious disease topics for the 3rd year medical students in the Doctor of Medicine Program (English Program), Faculty of Medicine/ Chulabhorn International College of Medicine, Thammasat University. A randomized controlled trial study was conducted by comparing the academic performances (MCQs scores), the motivation level (Motivation Scores Learning Questionnaire, MSLQ), and the student satisfaction survey scores of the students after the studied AR handouts (intervention group) and traditional handouts (control group). Twenty-four students were enrolled in this study (n = 12 each group). The both groups had no difference on age, gender, total GPA, pre-test scores (means of 5.08). Both groups also had similar increase in the post-test score means of 11.25 (intervention group) and 10.58 (control group). The MSLQ (topic of intrinsic goal orientation) was significantly higher in the intervention group than that in the control group (5.73 vs 4.81, t(22) = 2.512, p = .002). The students' satisfaction survey scores (topic of Handouts are stimulating. and Handouts are exciting. ) were significantly higher in the intervention group than that in the control group (4.58 vs 3.50, t(20) = 2.688, p = .025 and 4.42 vs 3.17, t(18) = 2.516, p = .019). In conclusion, the self-directed learning AR handouts for learning the medical microbiology and infectious disease topics were effective to improve the knowledge of the medical students. Based on the cognitive information processing theory, the AR handouts help the learning process by increasing the students' motivation, and satisfactionเทคโนโลยีภาพเสมือนจริง (Augmented reality, AR) เป็นการใช้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์ในการสร้างภาพวัตถุเสมือนในสภาพแวดล้อมจริง ซึ่งเป็นเทคนิคใหม่ทางแพทยศาสตรศึกษาที่ีใช้เทคโนโลยีเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักในการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ใช้ AR ในวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์และโรคติดเชื้อในนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (ภาคภาษาอังกฤษ) ชั้นปีที่ 3 คณะแพทยศาสตร์/วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นการวิจัยแบบสุ่มทดลอง เพื่อเปรียบเทียบระดับความรู้จากการสอบด้วยข้อสอบปรนัย ค่าเฉลี่ยของระดับแรงจูงใจในการเรียน และ ค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจในการเรียนรู้ โดยการแบ่งนักศึกษาเบื้องต้นเป็นกลุ่มกลุ่มทดลอง (ใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่ีใช้ AR) และกลุ่มควบคุม (ใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบดั้งเดิม) มีนักศึกษาทั้งสิ้นจำนวน 24 คนเข้าร่วมในการศึกษานี้ (กลุ่มละ 12 คน) นักศึกษาทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยยของอายุ จำนวนนักศึกษาแต่ละเพศ ระดับเกรดเฉลี่ยสะสม คะแนนสอบวัดระดับ ความรู้ก่อนเริ่มการศึกษา (คะแนนเฉลี่ย 5.08) ไม่แตกต่างกัน นักศึกษาทั้งสองกลุ่มมีระดับความรู้ที่ีเพิ่มขึ้นหลังการเรียนรู้ โดยมีคะแนนเฉลี่ยของการสอบวัดระดับความรู้หลังการศึกษาที่ี 11.25 (กลุ่ม ทดลอง) และ 10.58 (กลุ่มควบคุม) ทั้งนี้ค่าเฉลี่ยของระดับแรงจูงใจ (หัวข้อแรงจูงภายใน) ของกลุ่มทดลองนั้นสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ค่าคะแนนเฉลีJย 5.73 vs 4.81, t(22) = 2.512, p = .002) และค่าเฉลี่ยของคะแนนความพึงพอใจ หัวข้อ "เอกสารมีความกระตุ้นการเรียนรู้" และ "เอกสารมีความน่าตื่นเต้น" ของกลุ่มทดลองนั้นสูงกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t(20) = 2.688, p = .025 และ t(18) = 2.516, p = .019). โดยสรุป เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่ีใช้ AR ในวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์และโรคติดเชื้อในนักศึกษาแพทย์ นั้นมีประสิทธิภาพส่งเสริมการเรียนรู้โดยนักศึกษามีคะแนนระดับความรู้ที่ีสูงขึ้น จากทฤษฎีการเรียนรู้การประมวลผลทางปัญญา เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่ีใช้ AR นั้นสนับสนุนการเรียนรู้โดยเป็นผลจากการเพิ่มแรงจูงใจและความพึงพอใจในการเรียนx, 95 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAugmented realityComputer-assisted instructionMicrobiology -- Study and teachingThe effectiveness of self-directed learning augmented reality handouts for learning medical microbiology and infectious diseases in medical studentsประสิทธิภาพของการใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีภาพเสมือนจริงในวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย์และโรคติดเชื้อในนักศึกษาแพทย์Master ThesisMahidol University