ไพรินทร์ ต้นพุฒพีรพงษ์ ตัวงามสุนิษา คงพิพัฒน์สุวรรณา ก่อสุวรรณวงศ์Pairin TonputPeerapong Tua-ngamSunisa KongpipatSuwanna Korsuwannawongมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะทันตแพทยศาสตร์. สำนักงานการวิจัย2019-06-262019-06-262561วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 60-71https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44160สำนักงานการวิจัย คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มีการจัดเก็บข้อมูลผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ โดยการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบเอกสารด้วย Microsoft Word 2010 ซึ่งพบว่าปัญหาการสรุปรายงานผลใช้เวลาค่อนข้างนาน มีขั้นตอนในการจัดทำรายงานข้อมูลซ้ำซ้อน เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย ไฟล์ข้อมูลหลายไฟล์ หาไฟล์ข้อมูลหายหาไม่เจอ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาระบบจัดเก็บผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของบุคลากรในสังกัด โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Access 2010 ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สามารถจัดเก็บฐานข้อมูลในปริมาณมากๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันให้เป็นระบบตั้งแต่การจัดเก็บ ค้นหา และการสรุปรายงานผลข้อมูล โดยออกแบบและสร้างตารางสำหรับป้อนข้อมูล โดยมีตารางแสดงรายงานผลข้อมูลสามารถสรุปรายงานผลประจำเดือน ประจำปีในวารสารระดับชาติและนานาชาติ ผลงานวิจัยตีพิมพ์แยกตามภาควิชา ค่า Impact Factor และ SJR (SCimago Journal Rank) ของผลงาน การบันทึกข้อมูลผลงานตีพิมพ์โปรแกรม Research Database มีรายละเอียดข้อมูลมากกว่าวิธีเดิมที่บันทึกในรูปแบบการอ้างอิง Vancouver การสรุปรายงานผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของบุคลากรในคณะฯ ด้วยโปรแกรม Research Database ทดสอบความผิดพลาด (error) ของโปรแกรมในการรายงานผล 3 ครั้งเท่ากับ 0 และระยะเวลาในการสรุปรายงานผลวิธีเดิม (120±60 นาที) ลดลง (p=0.026) กว่าใช้โปรแกรม Research Database (0.02±0.003 นาที)Research office, Faculty of Dentistry, Mahidol University previously saved and recorded research database using Microsoft Word 2010. However, this program had a limitation, as there were some errors when searching the database due to over loading files. Therefore, the authors had implemented a system for storing the research database from academic journals; Microsoft Access 2010 is a database management system for searching, analyzing, and calculating data. The measurement of Achievement Index of this program was “A process of reporting error”. The error of the program reported the results. The time of method original (120±60 min) was lower (p=0.026) than the Research Database program (0.02±0.003 min).thaมหาวิทยาลัยมหิดลระบบจัดเก็บผลงานวิจัยฐานข้อมูลผลงานวิจัยผลงานตีพิมพ์articles Publicationdatabase system developments collect articles publicationResearch Databaseการพัฒนาระบบบริหารจัดการผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการของบุคลากรใน คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลDatabase system developments collect articles publication of research results at Faculty of Dentistry, Mahidol UniversityResearch Articleคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล10.14456/jmu.2018.17