ชัยวัฒน์ วงศ์อาษาพิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุลสิทธิพันธุ์ ไชยนันทน์สุวัฒน์ ศรีสรฉัตรมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา.มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว.2016-03-222021-09-202016-03-222021-09-202559-03-142531https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63617การประชุมวิชาการสาธารณสุขแห่งชาติ ครั้งที่ 3 13 - 15 มกราคม 2531 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2531. หน้า 15.ประชากรที่อาศัยอยู่ในอาคารสงเคราะห์การเคหะแห่งชาติดินแดงหลังที่ 1-6 เป็นกลุ่มที่มีสภาวะสังคมและเศรษฐกิจต่ำ ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองสุขภาพต่ำกว่ามาตรฐานลักษณะชุมชนแตกต่างจากชุมชนชนบท ในการศึกษาความสำเร็จของการเข้าถึงฐาน การส่งตัวผู้ป่วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในระดับปานกลาง การให้ความร่วมมือของชุมชนต่อโครงการเป็นดัชนีในการบ่งชี้ การศึกษานี้ พบว่าตั้งแต่เริ่ม-โครงการ (กรกฎาคม 2528) ถึงปัจุบัน (กรกฎาคม 2530) มีอัตราความครอบคลุมของการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคขั้นพื้นฐานสูงขึ้นตามลำดับจากร้อยละ 34.92 ในปี 2528 เป็นร้อยละ 83.82 ในปี 2530 การให้ความร่วมมือของประชาชนขณะเริ่มโครงการร้อยละ 79 เป็นร้อยละ 98 ในปี 2530 การเพิ่มของตัวบ่งชี้ดังกล่าวเนื่องจากปัจจัยต่างๆเช่น การเตรียมชุมชน การเยี่ยมบ้าน การใช้ยา การให้วิตามินบีรวมและวิตามินซี การอบรมอาสาสมัครเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง ปัญหาของการศึกษาระยะยาวเกิดขึ้นในส่วนของแผนงาน ลักษณะส่วนตัวของอาสาสมัครและบุคลากรของโครงการ การเก็บตัวอย่างส่งตรวจเพื่อหาเชื้อและความต้องการของประชาชนthaมหาวิทยาลัยมหิดลชุมชนดินแดงเด็กปัญหาระยะยาวทางเดินหายใจโรคติดเชื้อการศึกษาโรคติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ดินแดง กรุงเทพฯ. รายงานตอนที่ 4 : การเข้าถึงชุมชนและการศึกษาปัญหาระยะยาวProceeding Abstract