Wimontip MusikaphanBanyat YongyuanKaewta NopmaneejumruslersPimchaya Puasakul2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95223Human Development (Mahidol University 2014)This research study aims to investigate the correlation between selfefficacy, the quality of family life, quality of working life, and quality of social life of individuals in middle adulthood. The sample group involved 400 employees working for companies in the seafood industry located in Samutsakorn. The research instrument was questionnaire. Respondents where asked about demographic, selfefficacy, quality of family life, quality of working life and quality of social life. The data was analyzed by the descriptive statistics, e.g., frequency, percentage, Mean, Standard Deviation, Cross Tabulations Table, Pearson's Correlation and Multiple Linear Regression. The results showed that all variables pairs were positively correlated. Selfefficacy was correlated with the quality of working life (r = 0.663) at the statistical level of 0.01. Self-efficacy was correlated with the quality of family life (r = 0.457) at the statistical level of 0.01. Self-efficacy was correlated with the quality of social life (r = 0.407) at the statistical level of 0.01. From this research, it is suggested that both government and private sectors should develop policies for improving the quality of life of working-age people by integrating the job, family, and social elements.การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับคุณภาพชีวิตด้านครอบครัว การทำงาน และสังคมในวัยผู้ใหญ่ ตอนกลาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มพนักงานบริษัทอุตสาหกรรมอาหารทะเล ในเขต จ. สมุทรสาคร จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะทางประชากร แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถของตนเอง และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตด้านครอบครัว ด้านการทำงาน และ ด้านสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ตารางไขว้ (Cross Tabulations Table) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson's correlation) และ สถิติการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple Linear Regression) ผลการวิจัย พบว่า ตัวแปรทุกคู่มีความสัมพันธ์ทางบวก โดยการรับรู้ความสามารถของตนเอง สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้านการทำงาน (r = 0.663) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 การรับรู้ความสามารถของตนเอง สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้านครอบครัว (r = 0.457) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 และการรับรู้ความสามารถของตนเอง สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้านสังคม (r = 0.407) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 ซึ่งผลการศึกษาครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะที่สำคัญ เพื่อสร้างนโยบายให้กับภาครัฐและภาคเอกชน ที่มุ่งส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคคลวัยแรงงานให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่จำเป็นต้องแยกภาระงาน ครอบครัว และสังคมออกจากกันix, 84 leavesapplication/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าSelf-efficacy -- Thailand -- Samut SakhonQuality of life -- Thailand -- Samut SakhonQuality of work life -- Thailand -- Samut SakhonRelationship between self-efficacy and quality of life in family, working and society among middle adulthood workers : case study among officers in seafood industry in Samutsakorn provinceการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองกับคุณภาพชีวิตด้านครอบครัว การทำงาน และสังคมในวัยผู้ใหญ่ตอนกลาง : กรณีศึกษาพนักงานบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารทะเลในเขต จ.สมุทรสาครMaster ThesisMahidol University