ศิริลักษณ์ อภิวาณิชย์ถนอมวงศ์ มัณฑจิตร์กำธร มาลาธรรมSiriluk ApivanichThanomvong MuntajitKumthorn Malathumมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์. หน่วยโรคติดเชื้อ2019-12-202019-12-202562-12-202555รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 18, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2555), 273-2860858-9739 (Print)2672-9784 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48452วัณโรคมีสาเหตุจากเชื้อไมโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซีส ซึ่งเป็นโรคติดเชื้อที่ก่อปัญหา ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ปัจจัยเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลขึ้นอยู่กับจำนวนผู้ป่วย วัณโรคที่นอนรักษาในโรงพยาบาล การปฏิบัติการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การใช้อุปกรณ์ ป้องกันการติดเชื้อของบุคลากร รวมทั้งการแยกผู้ป่วยและการควบคุมด้านสิ่งแวดล้อม บทความนี้ได้ ทบทวนเกี่ยวกับมาตรการการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค การคัดกรองวัณโรคในบุคลากร ทีมสุขภาพในโรงพยาบาลรามาธิบดีตั้งแต่ พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 โดยการทดสอบทูเบอร์คูลิน ที่ผิวหนัง จำนวน 1,861 ราย พบว่ามีผลบวกร้อยละ 68.08 และอัตราอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลง ผลทดสอบจากลบเป็นบวก ในปี พ.ศ. 2549 พบ 14.0 ต่อ 100 รายต่อปี และลดลงเหลือ 6.1 ในปี พ.ศ. 2552 และพบบุคลากรเป็นวัณโรค 9 ราย (ร้อยละ 0.5) ดังนั้นโรงพยาบาลควรให้ ความสำคัญในการเฝ้าระวังวัณโรคในบุคลากร มาตรการในการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นและการป้องกัน วัณโรคในบุคลากรซึ่งจะช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลและการเจ็บป่วยของ บุคลากรทีมสุขภาพTuberculosis, caused by Mycobacterium tuberculosis, is an infectious disease affecting people around the globe including Thailand. Factors that influence tuberculosis transmission in the hospital setting include the number of patients with tuberculosis admitted to the hospital, the use of protected equipment for healthcare workers, patient isolation, and environmental control. This article is a review of measures to prevent tuberculosis transmission and describe the tuberculosis screening program (tuberculin skin test) in 1,861 healthcare workers at Ramathibodi Hospital from 2005 to 2009. The results showed positive skin tests in approximately 68%. The incidence rate of the conversion from the negative to positive test in 2006 decreased from 14.0/100 person-years to 6.1/100 person-years in 2009. Nine healthcare workers had tuberculosis infection (0.5%). Every hospital setting thus needs to be alert of surveillance, early screening, and prevention in tuberculosis which might help decreasing tuberculosis transmission and the number of healthcare workers infected with tuberculosis.thaมหาวิทยาลัยมหิดลวัณโรคการเฝ้าระวังวัณโรคบุคลากรทีมสุขภาพTuberculosisTuberculosis surveillanceHealthcare workersการเฝ้าระวังการติดเชื้อวัณโรคของบุคลากรในทีมสุขภาพโรงพยาบาลรามาธิบดีA Tuberculosis Surveillance Program in Healthcare Workers at Ramathibodi HospitalResearch Articleโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล