Tikumporn HosiriSucheera PhattharayuttawatMatavee Saengsomsuan2024-01-042024-01-04201820182024Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91776Clinical Psychology (Mahidol University 2018)This research aims to study the effects of yoga intervention on psychological well-being and quality of life in early adolescence. This study was a quasi-experimental research with a randomized control trial pretest-posttest design. The evaluation was taken before and after the experiment. The sample group was 26 students in junior high school, who were divided in two groups: experimental and control groups, consisting of 13 in students each. The yoga intervention was taken for 8 consecutive weeks, one session per week for 60-90 minutes. This yoga intervention followed Yoga Sutra and Hatha Yoga methodologies which consist of Yoga Philosophy of The Noble Eightfold Path, basic posture, Sun Salutation, breathing with abdominal muscles and meditation. Data were collected using psychological well-being and quality of life evaluation test and survey questionnaires. For data analysis, descriptive statistics, Wilcoxon Signed Ranks Test and Mann-Whitney U Test were used in this experiment. The results of this research showed that the experimental group had statistically significant differences in self-acceptance, positive relations with others, autonomy, environmental mastery and overall psychological well-being (P-value = 0.022, 0.037, 0.006, 0.031, 0.006). For quality of life, only in physical domain was significantly associated with yoga intervention in the experimental group (0.011) (p<0.05). This study shows that yoga intervention helps early adolescences to have better psychological well-being and quality of life in physical dimension.การวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลของกิจกรรมโยคะต่อสุขภาวะทางจิตและคุณภาพชีวิตในวัยรุ่นตอนต้น เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและควบคุม โดยประเมินผลก่อน-หลังการทดลอง ศึกษาในกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 26 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 13 คน ดำเนินกิจกรรมโยคะต่อเนื่อง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 60-90 นาที โดยกิจกรรมโยคะอิงแนวทางตามโยคะสูตรและหฐโยคะ ประกอบด้วย มรรค 8 ของโยคะ ท่าอาสนะพื้นฐาน สูรยนมัสการ หายใจด้วยกล้ามเนื้อท้องและการทาสมาธิ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินสุขภาวะทางจิต คุณภาพชีวิต และ แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา, Wilcoxon Signed Ranks Test, Mann-Whitney U Test ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยช่วงหลังการทดลองพบความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติดังนี้ในด้านการยอมรับตนเอง การมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น การเป็นตัวของตัวเอง ความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ และโดยรวมของสุขภาวะทางจิต (p-value = 0.022, 0.037, 0.006, 0.031, 0.006) และในส่วนคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย (0.011) (p<0.05) การศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าผลของกิจกรรมโยคะมีส่วนช่วยส่งเสริมสุขภาวะทางจิตและคุณภาพชีวิตด้านร่างกายในวัยรุ่นตอนต้นx, 89 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าYogaPositive psychologyWell-beingQuality of life.The effect of yoga intervention on psychological well-being and quality of life in early adolescenceผลของการจัดกิจกรรมโยคะต่อสุขภาวะทางจิตและคุณภาพชีวิตในวัยรุ่นตอนต้นMahidol University