โสภิตา โสภณนัทธมน มานักฆ้องพรณุภา สุริยากรกุลสุธิดา ทมเฮียงณัฐภรณ์ ยอดสุรินทร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล2022-06-302022-06-302565-06-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71991ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 24การฉายรังสีในเวลาที่เหมาะสม คือ 4-6 สัปดาห์หลังผ่าตัดหรือการ ให้ยาเคมีบำบัดครั้งสุดท้าย และไม่เกิน 8 สัปดาห์ในผู้ป่วยทั่วไป หากผู้ป่วยได้ คิวฉายรังสีที่ไม่เหมาะสม อาจส่งผลให้โรคมีโอกาสลุกลามและกลับเป็นซ้ำได้ 1-3 จากสถิติสาขาวิชารังสีรักษา โรงพยาบาลศิริราช ก.ค.-ก.ย. 2562 ผู้ป่วย ทั้งหมด 401 ราย มีคิวฉายรังสีไม่เหมาะสม 93 ราย (23.91%) เมื่อมีการส่ง ต่อ 27 ราย ทำให้ 23 ราย มีคิวฉายรังสีเหมาะสม เหลือคิวไม่มีเหมาะสม 70 ราย (17.45%) จะเห็นว่าการส่งต่อมีความสำคัญ หน่วยงานจึงจัดทำโครงการ การอัปเดตคิวฉายรังสีของโรงพยาบาลมะเร็งทั่ประเทศเพื่อการส่งต่อด้วย Google sheets ทำให้โรงพยาบาลเครือข่ายเข้าถึงข้อมูลได้ทันที โดยไม่ต้อง โทรสอบถามคิวฉายรังสี ซึ่งมีความยุ่งยาก เสียค่าใช้จ่าย เสียเวลาทั้งผู้ป่วยและ พยาบาล ผลลัพธ์ที่ได้พบว่าอัตราผู้ป่วยที่ส่งต่อได้รับคิวนัดฉายรังสีเหมาะสม 90-100% ลดเวลาการรอคอยของผู้ป่วย 95-97% ลดค่าใช้จ่าย 100% ลด ค่าแรงเฉลี่ยของพยาบาล 95-97% มีโรงพยาบาลเครือข่าย 18 โรงพยาบาล อัตราความพึงพอใจของพยาบาล 96-97%thaมหาวิทยาลัยมหิดลคิวฉายรังสีการส่งต่อโรงพยาบาลมะเร็งMahidol Quality Fairการอัปเดตคิวฉายรังสีของโรงพยาบาลมะเร็งทั่วประเทศเพื่อการส่งต่อด้วย Google SheetsProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล