ชลลดา พันธ์งามChonlada Phunngamมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล2022-10-142022-10-142565-10-142564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79916ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 152หอผู้ป่วยนวมินทรบพิตรฯ 17 เหนือให้บริการผู้ป่วยสูงอายุที่มี ปัญหาข้อเข่าและข้อสะโพกเสื่อมเข้ารับการรักษาด้วยการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า เทียม และข้อสะโพกเทียมเป็นจำนวนมากผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุหลังผ่าตัดต้อง นอนอยู่บนเตียงเป็นเวลานานมีอาการปวดหลังผ่าตัดส่งผลให้ผู้ป่วยมีการ เคลื่อนไหวลดลงเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลอดเลือดดำอุดตัน (DVT) ขาบวม การป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดภาวะดังกล่าวจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยการ กระตุ้นให้ผู้ป่วยหลังผ่าตัดบริหารกระดกปลายเท้า ขึ้น-ลง (Ankle pumping exercise) ให้ได้มากกว่า 100 ครั้ง/วัน (ตามตัวชี้วัดของ Tracer OA knee) ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหลอดเลือดดำอุด ตัน(DVT) และ สามารถลดอาการบวมของขาได้ แต่เนื่องจากผู้ป่วยสูงอายุ อาจนับจำนวนครั้งของการบริหารข้อเท้า ได้ไม่ชัดเจน หลงลืมไม่มีสิ่งแสดงจำนวนครั้งยากต่อการประเมิน ดังนั้นหอ ผู้ป่วยนวมินทรบพิตรฯ 17 เหนือ จึงประดิษฐ์อุปกรณ์ Ankle pumping count ขึ้นเพื่อช่วยในการนับ และกระตุ้นโน้มน้าวความสนใจของผู้ป่วยใน การบริหารข้อเท้าซึ่งจะส่งผลให้เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกระตุ้นการ ไหลเวียนโลหิต ลดอาการบวมและภาวะหลอดเลือดดำอุดตัน (DVT) ได้thaมหาวิทยาลัยมหิดลภาวะหลอดเลือดดำอุดตันAnkle pumpingDVTexerciseMahidol Quality Fairอุปกรณ์ Ankle Pumping CountProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล