อัญชลี ภู่ผะกามหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์2018-03-072018-03-072561-032556The Journal. ปีที่ 9, ฉบับที่ 2 (2556), 69-84https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/9943พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่่จะแสดงเรื่่องราวความเป็นมาในอดีตของชาติเพื่อชี้ให้เห็นถึงการมีอดีตและบรรพบุรุษร่วมกันมา พระองค์ทรงนำเรื่่องราวในพระราชพงศาวดารกลับมานำเสนอใหม่ในรูปแบบเรื่องเล่า นอกจากนั้นโคลงภาพพระราชพงศาวดารยังมุ่งเสนอประเด็นสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับความเป็นชาติ โดยนำเสนอแนวทางเกี่ยวกับการสืบทอดราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คือผู้ที่มีบุญบารมีซึ่งมีความหมายเปลี่ยนแปลงไปตามช่วงสมัย เมื่อมาถึงในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นได้นำเสนอให้เห็นว่า การดำรงฐานะเป็นพระมหากษัตริย์ต้องมาจากการสืบทอดสันตติวงศ์ ซึ่งเป็นแบบอย่างที่นานาอารยะประเทศปฏิบัติเช่นกันKing Chulalongkorn intended to present the history of the nation in order to indicate the past and bring a focus to our learning through the past and through our ancestors. He wanted to raise awareness and recognition of the people in the nation regarding a sense of belonging to the nation and sharing the same national identity, by means of historical narratives about Thai ancestors. He brought many royal chronicles back and presented them in the narrative form. Apart from being the historical reference, Khlong Phap Phrarajaphongsawadarn was used to present the important issue about the nation from the Ayutthaya era to Rattanakosin era. The qualification of Thai Kings to the throne was a mysterious identification, as their charisma changed during the period. In the early Rattanakosin era, the qualification of the king to ascend the throne was the primogeniture of the royal family members as a civilized nation.thaมหาวิทยาลัยมหิดลโคลงภาพพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 5การสืบราชสมบัติThe Journalโคลงภาพพระราชพงศาวดารในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว: การนำเสนอแนวทางเกี่่ยวกับการสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ไทยArticleคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล