สุฏิกา รักประสูตินงนิภา ตุลยานนท์Sutika RukprasootNongnipa Tulayanondมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาเขตกาญจนบุรี. สาขาการบัญชี2021-05-062021-05-062564-05-062563วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2563), 61-782350-983xhttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62055บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ผู้ประกอบการธุรกิจเกิดใหม่เห็นความสำคัญในการจัดการความเสี่ยงของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึ่งมีความสำคัญมากในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่าผู้ประกอบการธุรกิจเกิดใหม่ประสบความล้มเหลวประมาณ ร้อยละ 90 และยังพบว่าผู้ประกอบการในประเทศไทยขาดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จึงมีความจำเป็นต้องเร่งพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจเกิดใหม่ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างต่อเนื่อง ก็ยังประสบความล้มเหลว เนื่องจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่มีความเสี่ยงสำคัญประกอบด้วย 4 ด้าน คือความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงานความเสี่ยงด้านการตลาด และความเสี่ยงด้านการเงิน นอกจากนี้ บทความวิชาการนี้ได้นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงของ COSO-ERM 2017 เพื่อช่วยให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ประสบความสำเร็จตลอดจนเสนอกรอบแนวคิดสำหรับงานวิจัยในอนาคต เพื่อศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงของ COSO-ERM 2017 เพื่อสร้างความยั่งยืนของธุรกิจเกิดใหม่ในประเทศไทยThis academic paper has the objective of Start-UP alertness to the importance of new product development (NPD) risk managementwhich is increasingly important in digital economy. In particular, resent research shows Start-UP fail about 90%. In addition, Entrepreneurship of Thailand lack of Innovation. So, it’s important to accelerate development the capability of creating Innovation for competitive advancetace of Start-UP. Even though, NPD always has constanly during the time but it fails because NPD risk. There are significant risks effects the NPD success of Start-up are four key risks on NPD are technological, organizational, marketing and financial risk. In addition, this academic paper contributes to apply COSO-ERM 2017 framework for NPD success. Also, thisacademic paper contributes to the framework for further research to apply COSO-ERM 2017 in–depth studies for the sustainable Start-UpThailand.thaมหาวิทยาลัยมหิดลธุรกิจเกิดใหม่การจัดการความเสี่ยงในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่กรอบการจัดการความเสี่ยง COSO-ERM 2017Start-UpNew Product Development risk managementEnterprise Risk Mamagement COSO 2017การจัดการความเสี่ยงของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ : ความสำเร็จของธุรกิจเกิดใหม่ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัลNew Product development Risk Management : Start-up Success in digital EconomyResearch Articleสาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี