ธีรพัฒน์ กันสดับขจรยศ อนุรักษ์ธรรมTeerapat KansdubKhajornyod Anuraktamมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด2021-06-292021-06-292564-06-292561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62805ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 93เนื่องจากการจัดการตารางเรียนตารางสอนนั้นมีความยุ่งยาก ในการตรวจสอบตารางสอนของผู้สอนที่ทับซ้อนกัน ตารางการเรียนที่ทับซ้อนกัน ตลอดจนตารางการใช้ห้องในเวลาเดียวกัน และฝ่ายต่าง ๆควรที่จะสามารถนำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์เช่น งานฝ่ายทรัพยากรบุคคล สามารถนำข้อมูลชั่วโมงการสอนมาคำนวณหาภาระงานสอนของอาจารย์ได้ งานอาคารสถานที่ สามารถคำนวณค่าเสื่อมของอุปกรณ์ในห้องงานโสตทัศนูปกรณ์ สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการจัดเตรียมสถานที่ให้พร้อมต่อการใช้งาน เป็นต้น ในการนี้ผู้จัดทำได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้ศึกษากระบวนการทำงานเดิมของผู้ใช้ และวิเคราะห์ถึงแนวทางการพัฒนางานให้มีความสะดวก รวดเร็ว และเป็นเอกภาพมากยิ่งขึ้นภายใต้หลักการ Systems Development Life Cycle (SDLC) เมื่อนำระบบไปใช้ ผู้พัฒนายังได้มีการจัดทำแบบประเมิน โดยได้รับการประเมินจากผู้ใช้งานจริงผลโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ พึงพอใจมากถึงมากที่สุด และยังมีข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ โดยผู้พัฒนาจะนำไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ระบบมีความครอบคลุม และสะดวกสบายต่อผู้ใช้มากที่สุดthaมหาวิทยาลัยมหิดลตารางเรียนตารางสอนSDLCเอกภาพโปรแกรมจัดการตารางเรียนตารางสอน คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดลProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล