สายสุนีย์ ทับทิมเทศSaisunee Tubtimtesมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว2022-10-112022-10-112565-10-112553รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 33, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2553), 295-3010125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79880"...ผมนอนอยู่กับบ้านมา 16 ปี บอกแม่ว่า อย่าบอกใครว่ามีลูกคนนี้อยู่ในบ้าน ไม่อยากคุยกับใครเพราะคิดว่าไม่มีประโยชน์อะไร คุยแล้วก็เหมือนเดิมไม่มีใครช่วยอะไรได้ ตัวเองเป็นอัมพาตก็ต้องอยู่บ้านอย่างนี้ แต่ภายหลังจากเข้าร่วมโครงการฯ ผมรู้สึกเสียดายเวลาที่นอนอยู่นานกว่า 10 ปี ผมควรจะออกจากบ้านมาทำอะไรได้ตั้งนานแล้ว ตอนนี้ผมซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้และเข้าร่วมเป็นคณะทำงานของศูนย์ดำรงชีวิตอิสระด้วย.." จากคำกล่าวของคนพิการทั้งแขนและขาทั้งสองข้างที่สามารถลุกชึ้นมาดำรงชีวิตอิสระได้สำเร็จ ซึ่งปัจจุบันหลายคนสามารถทำงานบนคอมพิวเตอร์เลี้ยงดูตนเองได้สำเร็จหรือสามารถทำงานเพื่อพัฒนาคนพิการด้วยกันได้อย่างเหลือเชื่อหรือทำงานเป็นผู้บริหารองค์กรคนพิการตัวยงบประมาณที่ได้รับกว่าล้านบาท และนี่เป็นตัวอย่างชีวิตจริงที่หลุดพันและท้าทายกระบวนทัศน์การดูแลคนพิการกระแสหลักอย่างเหลือเชื่อ เราคงปฏิเสธไม่ได้ว่า การดำรงชีวิตอิสระเป็นเรื่องจริงที่สามารถสร้างให้เกิดขึ้นจริงไม่ใช่ความฝันลมๆ แล้งๆ อีกต่อไป เพื่อให้คนพิการสามารถหลุดพันจากความท้อแท้สิ้นหวัง นับเป็นบทเรียนที่ควรนำมาทบทวนถึงกระบวนการดูแลผู้ป่วยทั้งที่มีความพิการและก่อนที่จะก้าวไปสู่ความพิการ หากแนวคิดนี้สามารถดำเนินการได้สำเร็จ เชื่อได้ว่าในอนาคตอันใกล้นี้นจะได้เห็นภาพคนพิการหรือผู้ปวยเหล่านี้สามารถลุกขึ้นมาอยู่ในสังคมฉกเช่นคนทั่วไปได้อย่างมีความสุข ทั้งๆที่ความพิการมิได้เลื่อนหายไปthaมหาวิทยาลัยมหิดลชีวิตอิสระคนพิการการดำรงชีวิตอิสระของคนพิการ: เรื่องจริงหรือความฝันลมๆ แล้งๆArticleภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล