อรอุมา สิงหะเยาวลักษณ์ พนาเวชกิจกุลสุเมธ อำภาวงษ์เอกรินทร์ กลิ่นคำหอมกาญจนา เข่งคุ้มทวีศักดิ์ เขตเจริญมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานการสัตวแพทย์สัตว์ทดลองมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ. สำนักงานบริการวิชาการ2014-08-142018-08-192014-08-142018-08-192557-08-142555https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/22832การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50 ระหว่างวันที่ 31 มกราคม-2 กุมภาพันธ์ 2555. หน้า 303-309การศึกษานี้เป็นการทวนสอบระดับความรุนแรงของการเกิดพยาธิสภาพหัวใจขาดเลือดและวิการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง ที่เหนี่ยวนำให้เกิดขึ้นโดยการมัดเส้นเลือด left anterior descending coronary artery ในหนูแรทสายพันธุ์ Wistar ผลการศึกษาพบว่า ระดับความรุนแรงของการเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตาย, intermuscular edema, ปริมาณเม็ด เลือดขาว, congestion, hemorrhage และระดับการบวมน้้ำรอบเส้นเลือด (perivascular edema) ที่ระยะเวลา 3 ชั่วโมงหลังการผ่าตัด มีค่าน้อยกว่าที่ระยะเวลา 24 ชั่วโมงหลังการผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญ (p 0.05) อย่างไรก็ดีไม่พบ ความแตกต่างของความรุนแรงทางพยาธิสภาพอย่างมีนัยสำคัญในระหว่างสัตว์แต่ละตัว ทั้ง 3 และ 24 ชั่วโมงหลังการ ผ่าตัด จะเห็นได้ว่า animal model นี้เหมาะสมจะใช้สำหรับการศึกษาโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้จะเป็น ข้อมูลพื้นฐานทางด้านพยาธิวิทยาทั้งในเชิงคุณภาพ และปริมาณ จากการเหนี่ยวนำให้เกิดการขาดเลือดของหัวใจโดย การผ่าตัด ต่อไปในอนาคตthaมหาวิทยาลัยมหิดลAcute myocardial infarctionRatHistopathologyValidateผลงานการขอเลื่อนตำแหน่งผลงานบุคลากรสายสนับสนุนพยาธิสภาพของหัวใจจากการเหนี่ยวนำให้เกิดการขาดเลือดแบบเฉียบพลันในหนูแรทPathological changes in acute myocardial infarction rat modelProceeding Article