จารุวรรณ แซ่โค้วภฤศ หาญอุตสาหะวนิดา ลิขิตสินโสภณJaruwan Sae KowPrut HanutsahaWanida Likitsinsoponมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจักษุวิทยา2020-02-182020-02-182563-02-182552รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 15, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2552), 15-240858-9739 (Print)2672-9784 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/52440การรักษาแบบโฟโตไดนามิค หรือที่เรียกว่า พีดีที เป็นความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ในการรักษา โดยการใช้แสงเลเซอร์ร่วมกับสารเคมีที่ไวแสง ในทางจักษุวิทยามีการ ใช้การรักษาแบบพีดีทีสำหรับโรคหลายชนิด ที่สำคัญได้แก่การรักษาภาวะหลอดเลือดผิดปกติที่ งอกมาจากชั้นคอรอยด์ที่เกิดจากโรคจอประสาทตาเสื่อมในผู้สูงอายุ ซึ่งนับเป็นสาเหตุสำคัญที่ ทำให้ประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุต้องสูญเสียสายตา เวอร์ติพอร์ฟินเป็นสารเคมีไวแสง พยาบาล ควรมีความรู้เกี่ยวกับยาที่ใช้และพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการพยาบาลผู้ป่วยทั้งก่อนและหลัง การรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำแนะนำในการดูแลตนเองPhotodynamic Therapy (PDT) is a new medical technology in the field of the eye involving the combined application of photosensitizing agent with laser treatment. In this way, PDT is used to treat many diseases, especially choroidal neovascularization due to age-related macular degeneration that causes elderly people lose their visual acuity. The photosensitizing agent is called as “verteporfin.” Nurses should have knowledge about medicine and have important roles for patients before and after treatment, especially giving patients advices for self care.thaมหาวิทยาลัยมหิดลการรักษาแบบโฟโตไดนามิคโรคจอประสาทตาเสื่อมในผู้สูงอายุสารเคมีไวแสงเวอร์ติพอร์ฟินPhotodynamic TherapyAge-related macular degenerationPhotosensitizing agentsVerteporfinบทบาทของพยาบาลกับการรักษาแบบโฟโตไดนามิคทางจักษุวิทยาNurse’s Roles and Ophthalmic Photodynamic TherapyArticleภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล