Chanvit PornnoppadolPatcharin SereeSuporn ApinuntavechPunnapat Thanaariyapaisan2024-01-252024-01-25201520242015Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94013Child, Adolescent and Family Psychology (Mahidol University 2015)This research used a quasi-experimental research design to study the effectiveness of an intervention program to enhance protective skills against game addiction among 4th-6th grade students in Wat Ratsattatam School, elementary school, Bangkok. A total of 15 students participated in this study. The program was provide for one hour per day; a total of 12 sessions were completed. Gam Addiction protection Scale: Game-P child version was used before and immediately after the end of program. Data were analyzed by using frequency distribution, percentage, mean, median, quartile deviation and The Wilcoxon Matched-Pairs signed-Ranks Test. The result revealed that before the program, the students had a low level of protection against game addiction immediately after ending the program, the students, had a higher level of protection against game addiction. In a perspective, protection against game addiction scores were significantly higher than before the program (p-value <.05) especially child factors, family and parenting factors. The effectiveness of the intervention program to enhance protective skills against game addiction among 4th-6th grade students increased protection against game addiction. Accordingly teachers or staff in schools could use this program to help the students at risk of game addiction.การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 15 คน เข้าร่วมโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกม 12 ครั้ง ครั้งละ 1 ชั่วโมง โดยการทแบบวัดภูมิคุ้มกันการติดเกม ฉบับเด็ก (Game Addiction Protection Scale: Game-P) ก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ และ The Wilcoxon Matched-Pairs singed-Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการทดลองนักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมในระดับต่ำ หลังจากสิ้นสุดการทดลอง นักเรียนมีภูมิคุ้มกันการติดเกมเพิ่มข้นเป็นระดับปานกลาง มีคะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมโดยภาพรวมสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า คะแนนภูมิคุ้มกันการติดเกมปัจจัยเกี่ยวกับตัวเด็ก ปัจจัยครอบครัวและการเลี้ยงดูสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากผลการวิจัยแสดงว่า โปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สามารถช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนได้ ดังนั้นครูหรือบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลนักเรียนที่มีความเสี่ยงในการติดเกมจึงสามารถนำผลการวิจัยนี้ไปจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมให้กับนักเรียนต่อไปได้xi, 130 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าComputer gamesVideo games and childrenVideo gamesThe effectiveness of intervention program to enhance protective skills against game addidiction among 4th-6th grade studentsการศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมภูมิคุ้มกันการติดเกมของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6Master ThesisMahidol University