Sairudee VorakitphokatornKaewta NopmaneejumruslersHattaya DumrongpholPatra Junlapiya2024-02-132024-02-13200720072007Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2007https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/97044Human Development (Mahidol University 2007)This research was conducted to examine the relationship between perceptions of bullying behaviors and actual bullying behaviors among groups of Chiang Mai students. 222 Prathom 6 and Matayom 3 students and 8 teachers of School A and B situated in Muang district, Chiang Mai, served as the research subjects. Focus groups and questionnaires were used as research tools with the students, while in-depth interviews were used with both the students and teachers. The research findings show that the students often perceived bullying behavior at school. 48.1% of the bullying behaviors were conducted by a group of 2-3 students. When perceiving bullying acts, the students preferred sharing their experience with friends. 62.7% of the bully victims were seldom bullied. Mockery was identified as the most performed bullying act. 56.7% of the students seldom bullied other students. Locations where bullying occurred and were perceived included classrooms with no presence of teachers, hallways or stairways, fields, toilets and canteens. The research also indicates a relationship between the perception of bullying behaviors and the actual bullying behaviors at the significance of 0.01. This signifies that the more bullying behaviors the students have perceived or observed, the more often they will themselves perform bullying behaviors. The research findings suggest campaigns against bullying behaviors should be carried out to raise awareness among teachers, parents and students to create a social norm which considers bullying behaviors as non-acceptable and encourages effective solutions to behavioral problems. Bullying behavior prevention courses should be implemented at schools to follow up the problem in the long term.การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เรื่องพฤติกรรม การรังแกกันกับพฤติกรรมการรังแกกันของกลุ่มเด็กนักเรียนในจังหวัดเชียงใหม่กลุ่มตัวอย่าง เป็นเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียน A และโรงเรียน B อําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่จํานวน 222 คนและครูจํานวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การสนทนากลุ่มกับนักเรียน แบบสอบถามกับนักเรียนและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกของครู และนักเรียน ผลการศึกษาพบว่าเด็กนักเรียนรับรู้ว่ามีการรังแกในโรงเรียนค่อนข้างบ่อยประมาณ 48.1เปอร์เซ็นต์มักเป็นการรังแกโดยเด็ก 2-3 คน และเมื่อรับรู้การรังแกเด็กจะบอกเพื่อนมาก ที่สุดเด็กที่ถูกรังแกจะถูกรังแกนาน ๆ ครั้งประมาณ 62.7 เปอร์เซ็นต์ถูกรังแกโดยการล้อเลียน มากที่สุดเด็กที่รังแกผู้อื่นจะรังแกนาน ๆ ครั้งประมาณ 56.7 เปอร์เซ็นต์สถานที่ที่เด็กรับรู้และ ถูกรังแกมากที่สุดคือในห้องเรียนขณะที่ครูม่อยู่ตามทางเดินหรือบันได สนามโรงเรียน ห้องน้ำและโรงอาหารการรับรู้การรังแกมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการรงแกอย่างมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ .01 แสดงให้เห็นว่าเมื่อนักเรียนรับรู้หรือเห็นการรังแกมากขึ้น ก็จะพบว่ามีนักเรียนที่ มีพฤติกรรมรังแกผู้อื่นมากด้วยเช่นเดียวกัน จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าควรมีการรณรงค์ให้นักเรียน ครูผู้บริหารโรงเรียน และ พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาและสร้างมาตรฐานทางสังคมที่ไม่ยอมรับการรังแกกัน ในโรงเรียนและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง โดยใช้หลักสูตรการป้องกันการรังแกกันในโรงเรียน และมีการติดตามผลในระยะยาวxiii, 138 leavesapplication/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าBullyingBullying in schools -- Thailand -- Changmai -- PreventionSchool violence -- PreventionStudents -- AttitudesThe relationship between the perception of bullying behaviors and the actual bullying behaviors among groups of students in Chiangmaiการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เรื่องพฤติกรรมการรังแกกันกับพฤติกรรมการรังแกกันของกลุ่มเด็กนักเรียนในจังหวัดเชียงใหม่Master ThesisMahidol University