อัมพา แซ่หลีจุฑากาญจน์ บุญนุชอภิรักษ์เบญจมาศ พรมใจบุญปิยะธิดา ทองกลึงปรัชญาณี เขมะนุเชษฐ์นภาพร วรรณขาวยุพา นงนุชศราวุฒิ บำรุงผลมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-08-192021-08-192564-08-192561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63202ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 191ที่มา: การสื่อสารโดยการส่งต่อข้อมูลของผู้ป่วยที่ถูกต้องครบถ้วน และการจัดท่าสรีรบำบัดทรวงอกได้อย่างถูกต้อง เป็นสิ่งสำคัญในการดูแล ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะปอดแฟบ วัตถุประสงค์: เพื่อการสื่อสารส่งต่อข้อมูลผล Chest x-Ray ของผู้ป่วยได้ถูกต้อง ครบถ้วนและจัดท่าทำสรีรบำบัดทรวงอก ได้อย่างถูกวิธีวิธีการดำเนินการ: 1. รวบรวมข้อมูลรายละเอียดการทำสรีร บำบัดทรวงอกในผู้ป่วยที่มีภาวะปอดแฟบ 2.จัดทำป้าย Atelec OK. สบาย ปอด สบายใจ 3.เมื่อแพทย์อ่านผล Chest x-Ray พบว่า มีภาวะปอดแฟบ ลง ผล Chest x-Ray ลงในใบ Progress note พยาบาล และลงในใบบันทึกผล Chest x-Ray บริเวณหัวเตียงผู้ป่วย นำป้าย Atelec OK. สบายปอด สบายใจ ไปแขวนที่เตียงของผู้ป่วย ตัวชี้วัดผลสำเร็จและผลลัพธ์: 1.บุคลากรมีการส่งต่อ ข้อมูลผล Chest x-ray ของผู้ป่วยได้ถูกต้องครบถ้วน ≥ 80% 2.บุคลากรทำส รีรบำบัดทรวงอกได้อย่างถูกวิธี≥ 80% การขยายผล: เผยแพร่ใช้ในหอผู้ป่วย อื่น ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะปอดแฟบthaมหาวิทยาลัยมหิดลภาวะปอดแฟบAtelectasisผู้ป่วยเด็กระยะวิกฤตและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะปอดแฟบการจัดท่าสรีรบำบัดทรวงอกAtelec OK. สบายปอด สบายใจProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล