Sutthi JareinpitukChukiat ViwatwongkasemSurintorn KalampakornSupannee Sriamporn PromthetPratana Satitvipaweeสุทธิ เจริญพิทักษ์ชูเกียรติ  วิวัฒน์วงศ์เกษมสุรินธร กลัมพากรปรารถนา สถิตย์วิภาวีMahidol university. Faculty of Public Health. Department of EpidemiologyMahidol university. Faculty of Public Health. Department of BiostatisticsMahidol university. Faculty of Public Health. Department of Public Health Nursing2015-04-162017-06-302015-04-162017-06-302015-04-162009Journal of Public Health. Vol.39, No.3 (2009), 271-2820125-1678https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2488The aim of this study was to estimate the prevalence of three breast cancer screening methods using weighted estimation, non-weighted estimation and the exact binomial method. Northeastern women aged 20 to 64 (n = 1,081) were randomly selected with multi-stage sampling. The results indicated that the prevalence of women who had performed Breast Self-Examination (BSE) and women who had regularly performed BSE, ranged from 75.2% (95% CI: 71.8-78.6) to 81.3% (79.1-83.5) and 49.3% (45.4-53.2) to 51.9% (49.3-54.7), respectively. The prevalence of women who had received Clinical Breast Examination (CBE) and women who had received CBE regularly ranged from 33.4% (31.1-35.8) to 38.6% (34.8-42.4) and 13.1% (11.2-14.9) to 22.3% (19.0-25.6) respectively. Except in rare cases, the prevalence (95% CI) of mammography screenings were computed by the exact binomial method: 0.03% (0.02-0.04) of women aged 40 and older had had a mammography and 0.003% (0.001-0.009) had mammography annually. Since there is such a low rate of breast cancer screenings, the government should re-evaluate its breast cancer screening policy and implement a strategy of breast cancer screenings. Special attention is required in the areas of mammography screenings and in the allocation of mammogram machines and radiologists. These goals could be perhaps best achieved through the increasing of public awareness of the breast cancer screenings.การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณค่าความชุกการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยการใช้วิธีประมาณค่าแบบถ่วงน้ำหนัก และวิธี exact binomial กลุ่มตัวอย่างการศึกษานี้คือสตรีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่มีอายุระหว่าง 20 ถึง 64 ปี จำนวน 1,081 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่าความชุกของการเคยตรวจเต้านมด้วยตนเองพบร้อยละ 75.2 (95% CI, 71.8-78.6) ถึง ร้อยละ 81.3 (79.1-83.5) และความชุกของการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอพบร้อยละ 49.3 ( 45.4-53.2) ถึงร้อยละ 51.9 (49.3-54.7) ขณะที่ความชุกของการเคยตรวจเต้านมโดยบุคลากรทางการแพทย์ และความชุกของการตรวจเต้านมโดยบุคลากรทางการแพทย์อย่างสม่ำเสมอ พบร้อยละ 33.4 (31.1-35.8) ถึงร้อยละ 38.6 (34.8-42.4) และร้อยล่ะ 13.1 (11.2-14.9) ถึงร้อยละ 22.3% (19.0.25.6) ตามลำดับ ยกเว้นกรณีพบผู้ตรวจคัดกรองน้อย วิธี exact binomial ถูกนำมาใช้ประมาณช่วงความเชื่อมั่นของความชุกการตรวจแมมโมแกรม พบว่าร้อยละ 0.03 (0.02-0.04) ของสตรีที่มีอายุ 40 ปีและมากกว่า เคยตรวจเต้านมด้วยแมมโมแกรม และร้อยละ 0.00. (0.001-0.009) ตรวจเต้านมด้วยแมมโมแกรม เป็นประจำทุกปี จากข้อค้นพบความชุกการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมที่ต่ำ รัฐบาลควรจะทบทวนนโยบายและแผนกลยุทธ์การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยเฉพาะการตรวจแมมโมแกรม และการจัดสรรเครื่องตรวจแมมโมแกรม และรังสีแพทย์อย่างเหมาะสม เป้าหมายจะสำเร็จได้โดยการเพิ่มความตระหนักของสาธารณชนในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมengMahidol universityPrevalenceBreast Cancer Screening MethodsNortheastern Womenความชุกการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมสตรีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือวารสารสาธารณสุขศาสตร์Journal of Public HealthPrevalence estimation of three breast cancer screening methods among northeastern women in Thailandการประมาณความชุกการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของสตรีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยArticleMahidol university