นงลักษณ์ สรรสมกนกวรรณ บุญสังข์คณะกรรมการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองงานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ฝ่ายการพยาบาล2022-08-312022-08-312565-08-312564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79474ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 96การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง หมายถึง การดูแลที่มุ่งทำให้ คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ซึ่งเผชิญหน้ากับโรคที่คุกคามต่อชีวิต โดยเน้นการดูแลอาการที่ทำให้ทุกข์ทรมาน ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิต วิญญาณ และให้การรักษาดังกล่าวตั้งแต่ได้รับการวินิจฉัยจนกระทั้งผู้ป่วย เสียชีวิต รวมถึงการดูแลครอบครัวของผู้ป่วยหลังการสูญเสีย งานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษ ได้สำรวจความชุกผู้ป่วยแบบประคับประคองปี พ.ศ.2562 พบว่า มี 32.7% งานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษตระหนัก ถึง ความสำคัญในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองมาตลอด โดยมีจุดเริ่มต้น จากการนำกรอบแนวคิดการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต ( 9 C end of life care) มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแล ที่ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ จนถึงปัจจุบันได้มีการ พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง โดยการนำ Palliative care Flow มาใช้ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่มารับบริการในหอผู้ป่วย รวมทั้งมีการติดตามผลลัพธ์การดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วยที่มารับบริการ ในงานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษ ได้รับการดูแลที่มีประสิทธิภาพthaมหาวิทยาลัยมหิดลผู้ป่วยแบบประคับประคองPalliative care FlowMahidol Quality Fairการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง งานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล