นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์2010-11-292011-08-262020-10-052010-11-292011-08-262020-10-052553-11-292553-04-20https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58840100, xxix แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม.อุตสาหกรรมยาสูบพยายามที่จะสร้างภาพพจน์ที่ดีในสังคม เช่น การบริจาคเงินและการเป็นผู้อุปถัมภ์รายการด้านสังคมต่างๆ การดำเนินกิจกรรมการเป็นองค์กรธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคมนับเป็นความพยายามอย่างยิ่งของอุตสาหกรรมยาสูบข้ามชาติในการที่จะโน้มน้าว จูงใจความคิดเห็นของสาธารณะและนโยบายของรัฐบาลในการควบคุมยาสูบ การดำเนินกิจกรรมการเป็นองค์กรธุรกิจเพื่อสังคมเป็นเครื่องมือทางการตลาดและประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีสำหรับองค์กร รายงานการวิเคราะห์ขององค์การอนามัยโลกสรุปว่า การทำกิจกรรมเพื่อสังคมและอุตสาหกรรมยาสูบเป็นสิ่งที่ขัดแย้งกัน ดังนั้น การใช้มาตรา5.3ในกรอบอนุสัญญาการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลก เป็นสิ่งจำเป็นในการควบคุมอุตสาหกรรมยาสูบอย่างมีประสิทธิผลTobacco industry tries to portray a good corporate image through various strategies such as corporate social responsibility (CSR) activities. Corporate philanthropy and sponsorship of various socially worthwhile programs are trans-national tobacco industry efforts in influencing public opinion and government policies in tobacco control. Corporate Social Responsibility is a marketing and public relation tool to create good corporate image. Analysis of the World Health Organization concludes that tobacco industry and corporate responsibility are an inherent contradiction. Therefore, article 5.3 of the World Health Organization Framework Convention on Tobacco Control is necessary and effective measure for tobacco industry.61729429 bytesapplication/pdfthaMahidol Universityอุตสาหกรรมยาสูบความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจยาสูบกรอบอนุสัญญาการควบคุมยาสูบขององค์การอนามัยโลกแง่สังคมการควบคุมการประมวลองค์ความรู้และกรณีศึกษาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศเกี่ยวกับการดำเนินการในลักษณะองค์การเพื่อสังคมโดยอุตสาหกรรมยาสูบโครงการการประมวลองค์ความรู้และกรณีศึกษาจากทั้งในประเทศและต่างประเทศเกี่ยวกับการดำเนินการในลักษณะองค์การเพื่อสังคมโดยอุตสาหกรรมยาสูบResearch Reportสถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย (สสท)