ศิวภา บุญกมลสวัสดิ์โสรวีร์ วนิชกุลพิทักษ์Sivapa BoongamoneseudSivapa Boongamoneswudมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายเภสัชกรรม2022-10-262022-10-262565-10-262564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79966ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 165ปัจจุบันการส่งต่อข้อมูลและการแก้ไขปัญหาในใบสั่งยา มีความ ยุ่งยาก และมีปัจจัยที่ทำให้เกิดความล่าช้า ซึ่งแผนกฉุกเฉินเป็นแผนกที่ ต้องการความรวดเร็ว และทันเวลาภายใน 30 นาที โดยการทำงานที่ผ่านมา ของห้องยา สามารถจัดเตรียมยาได้ทันเวลาภายใน 30 นาที ร้อยละ 78 ซึ่งยัง ไม่บรรลุเป้าหมาย คือร้อยละ 80 จึงเกิดแนวคิดที่จะใช้แบบฟอร์มที่ใช้งาน ร่วมกันระหว่างสหสาขาวิชาชีพ เพื่อประสานการทำงานให้สมบูรณ์ และลด ความผิดพลาดระหว่างการส่งต่องานทั้งกระบวนการ Prescribing , Transcribing , Dispensing และ Administration จึงเกิดการปรับปรุง กระบวนการทำงานโดยมีปัจจัยสำคัญ คือ การใช้แบบฟอร์ม “ใบสั่งยาและ บริหารยาผู้ป่วยแผนกฉุกเฉิน” และปรับเป็น “ระบบ Scan ER” เพื่อส่งต่อ ข้อมูลระหว่างแผนกฉุกเฉินและห้องยา พบว่าทำให้เกิดประโยชน์แก่ผู้ป่วย ทำ ให้ได้รับยารวดเร็วและทันเวลาภายใน 30 นาทีมากยิ่งขึ้น ตรวจสอบพบปัญหา ในการสั่งใช้ยาได้มากขึ้น และเพิ่มความปลอดภัยของผู้ป่วยได้ดียิ่งขึ้นthaมหาวิทยาลัยมหิดลห้องยาฉุกเฉินระบบยาระบบ Scan ERใบสั่งยาแบบฟอร์มMahidol Quality FairER ระบบใหม่ ปลอดภัย ทันเวลาProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล