ยุทธพล วิเชียรอินทร์ขวัญชัย งามดอกไม้ฐิติพร กังวานสุระYudthaphon Vichianinมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคนิคการแพทย์2021-05-312021-05-312564-05-312561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62378ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 83เพื่อช่วยนักศึกษารังสีเทคนิคทบทวนหลักการเรื่องการป้องกันอันตรายจากรังสีและสร้างเกมสำหรับอุปกรณ์แอนดรอยด์ อุปกรณ์ : คอมพิวเตอร์, สมาร์ตโฟน, โปรแกรม Unity3D, โปรแกรม Photoshop, แอปพลิเคชัน ibis Paint X, โปรแกรม Android Studio, นักศึกษารังสีเทคนิคปีที่ 4 จำนวน 64 คน วิธีการ : 1) วางโครงเรื่อง 2) ออกแบบฉากภายในเกม 3) โปรแกรม Unity3D 4) ทดสอบการทำงาน 5) ประเมินความรู้และความพึงพอใจในการใช้งาน ผล: เกมที่สร้างขึ้นสามารถใช้งานได้จริง โดยได้ผลการทำแบบทดสอบประเมินความรู้เปรียบเทียบก่อนการเล่น( 1= 8.56, SD = 2.27) และหลังการเล่น ( 2= 11.34, SD =1.66) พบว่าคะแนนสอบมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ p=0.000 ผลการสำรวจความพึงพอใจเรื่อง สีพื้นหลัง, ขนาดและรูปแบบตัวอักษร, องค์ประกอบโดยรวม,ความน่าสนใจ, ความสะดวกในการใช้งาน มีความพึงพอใจทุกรายการดีมาก สรุป: เกมสื่อการเรียนรู้สามารถใช้งานได้จริงบนอุปกรณ์แอนดรอยด์ นักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้นและมีความพอใจในการใช้งานเกมในระดับดีมากthaมหาวิทยาลัยมหิดลเกมการป้องกันอันตรายจากรังสีรังสีเทคนิคอุปกรณ์แอนดรอยด์Mahidol Quality Fairเกมเพื่อเรียนรู้การป้องกันอันตรายจากรังสีสำหรับอุปกรณ์แอนดรอยด์Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล