Chalobon YoosookNuntavan BunyapraphatsaraPranee SithisarnYingmanee Boonyakiat2023-10-202023-10-20199419942023Thesis (M.Sc. (Microbiology))--Mahidol University, 1994https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/90584Many antiviral agents originated from synthetic compounds have been used to treat herpes simplex virus (HSV) infection. Although they are effective, the cost of treatment is always high and adverse effect may be encountered. Thus, an attempt to search for new agents from Thai medicinal plants recommended in primary health care was performed in this study. Anti-HSV-2 activity was revealed from three Thai medicinal plants, i.e an aerial part of Centella asiatica L., leaves of Mangifera indica L. and wood of Cudrania javanensis F. as determined by observation on an inhibition of virus growth in vitro. In the present studies, the crude water extract of these medicinal plants at their highest, yet non-toxic concentration, could inhibit HSV-2 replication. They could reduce viral yields by more than 95% as observed at 30 hours after viral infection. The crude water extracts of Centella asiatica L. and Mangifera indica L were further purified and investigated for active ingredients that possessed anti-HSV activities. Asiaticoside and mangiferin were found to be the active ingredients derived from Centella asiatica L. and Mangifera indica L., respectively. However, these active ingredients might not exert anti-HSV-2 activity in a degree greater than the crude water extracts. Both the crude water extracts and their fractions containing active ingredients could reduce the cytopathic effects of infected cells. The combined activity resulting in an additive interaction was noted when each of the crude water extracts was mixed with acyclovir (ACV) and when crude Centella asiatica L. was mixed with Mangifera indica L. extract, indicating a different mode of action. The application of drug combination might reduce the incidence of emergence of resistance to a single drug. The activities of these three crude water extracts were also demonstrated by inhibition of antigen synthesis in HSV-infected cells; a lower fluorescence intensity associated infected cells grown in the presence of the extracts was characterized by flow cytometer. At the concentration used, anti-HSV-2 activity of Mangifera indica L. was the same as Cudrania javanensis F. whereas that of Centella asiatica L. was the same as ACV at 1.5 µg/ml. Thus, the application of crude water extracts derived from the aerial part of Centella asiatica L. and leaves of Mangifera indica L. for treatment of HSV infection may be recommended in order to reduce the expense of imported drugs and to promote self-reliance in drug supplies and primary health care in the population at large.ยาต้านเชื้อไวรัสที่สังเคราะห์ขึ้นสามารถใช้ ในการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ แต่ราคาของยายังค่อนข้างสูง และอาจเกิด ผลข้างเคียงเนื่องจากการใช้ยาได้ ดังนั้นในการศึกษานี้ได้ พยายามค้นหายาต้านไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ชนิดใหม่จาก พืชสมุนไพรที่แนะนำให้ใช้ในการสาธารณสุขขั้นมูลฐาน พบว่า สารสกัดด้วยน้ำของพืชสมุนไพรไทย 3 ชนิด คือ ใบบัวบก ใบมะม่วง และแก่นแกแล ในขนาดความเข้มข้นสูงสุดที่ไม่เป็น พิษต่อเซลล์ แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2 จากการดูความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ ไวรัส สมุนไพรเหล่านี้สามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนไวรัส ภายในเซลล์ติดเชื้อ โดยลดปริมาณไวรัสได้มากกว่า 95% เมื่อ ตรวจสอบในช่วงหลังติดเชื้อ 30 ชั่วโมง และเมื่อทำการแยก สารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำของบัวบกและมะม่วงเพื่อหาสาร สำคัญที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ดังกล่าว พบว่าสารสำคัญที่แสดงฤทธิ์ของบัวบกและมะม่วง คือ asiaticoside และ mangiferin ตามลำดับ แต่สารสำคัญ ทั้ง 2 ชนิดนี้อาจแสดงฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2 ได้ในระดับที่ไม่มากกว่าสารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำ สารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำและส่วนสกัดที่มีสารสำคัญอยู่ด้วย สามารถลดระดับการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ติดเชื้อด้วย สารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำแต่ละชนิดเมื่อใช้ร่วมกับ อะซัยคลอเวียร์ และสารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำของใบบัวบก เมื่อใช้ร่วมกับใบมะม่วงสามารถแสดงฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัส เฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2 ร่วมกันแบบ additive แสดง ให้เห็นว่ายาแต่ละตัวมีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกัน ดังนั้น ประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้ยาร่วมกันคือการลดอุบัติการณ์ การดื้อยาของเชื้อไวรัสเนื่องจากการใช้ยาเพียงชนิดเดียว สารสกัดเบื้องต้นด้วยน้ำทั้ง 3 ชนิด สามารถยับยั้ง การสร้างแอนติเจนของไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2 ได้อีกด้วย โดยดูจากปริมาณความเข้มของแสงฟลูออร์เรสเซนต์ จากเซลล์ติดเชื้อที่ทำปฏิกริยากับแอนติบอดีลดลง เมื่อ ทำการวิเคราะห์ด้วย flow cytometer พบว่ามะม่วงสะกัดใน ระดับความเข้มข้นสูงสุดที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์แสดงฤทธิ์ ต้านเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2 ได้ในระดับ เดียวกับแกแล ส่วนบัวบกสามารถแสดงฤทธิ์ได้ดีในระดับเดียว กับอะซัยคลอเวียร์ ซึ่งใช้ในปริมาณ 1.5 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร การนำสารสกัดจากใบบัวบกและมะม่วงไปใช้ประโยชน์ ในการรักษาโรคติดเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพลกซ์ เป็นการ ส่งเสริมให้สามารถพึ่งตนเองในด้านการใช้ยาสำหรับการดูแล รักษาสุขภาพขั้นมูลฐาน และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการนำเข้า ยาจากต่างประเทศอีกด้วยx, 93 leaves : ill.application/pdfengAntiviral AgentsSimplexvirusPlants, MedicinalActivities of extracts from Thai medicinal plants, Centella asiatica linn., Mangifera indica linn. and Cudrania javanensis frec., against herpes simplex virus type 2ฤทธิ์ของสารสกัดจากสมุนไพรไทย บัวบก มะม่วงและแกแลต่อไวรัส เฮอร์ปิส์ซิมเพลกซ์ ทัยป์ 2Master ThesisMahidol University