เทพนม เมืองแมนพิชิต สกุลพราหมณ์อุทัย ตู้จินดาบุญส่ง ไข่เกษอุดม คมพยัคฆ์ปกรณ์ สุเมธานุรักขกุลชลาศัย ห่วงประเสริฐพัฒนา มูลพฤกษ์นวลศรี สมณะช้างเผือกปรีชา ลอเสรีวานิชพิศิษฐ์ วัฒนสมบูรณ์ทองหล่อ เดชไทยเลขา สมยืนแสงอรุณ กุลประดิษฐ์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม.มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข.2012-10-162020-09-292012-10-162020-09-292555-10-162532https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58805วชิรพยาบาลเป็นโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร มีจำนวนเตียงคนไข้ 889 เตียง อัตราการครองเตียง เฉลี่ย 68.42 % วชิรพยาบาลได้ดำเนินการจัดการมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในโรงพยาบาล โดยแยกมูลฝอยทั่ว ๆ ไปไว้ในถุงพลาสติกสีดำและภาชนะรองรับมูลฝอยอื่นๆ มูลฝอยติดเชื้อแยกใส่ถุงพลาสติกสีแดงสำหรับใบมีด เข็มฉีดยาที่ใช้แล้วจะถูกแยกใส่กระป๋องโลหะและนำไปฆ่าเชื้อก่อนนำไปกำจัดต่อไป มูลฝอยทั้งหมดของวชิรพยาบาลถูกเก็บขนไปกำจัดโดยกรุงเทพมหานคร ในด้านการแยกเก็บมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อในทางปฏิบัตินั้น วชิรพยาบาลยังมีการคัดแยกเก็บมูลฝอยทิ้ง ประเภท ยังไม่ถูกต้องนัก มีการปะปนกันของมูลฝอยแต่ละประเภท เกี่ยวกับความรู้และการปฏิบัติของบุคลากรของวชิรพยาบาล อันได้แก่ หัวหน้าตึก หัวหน้าห้อง หัวหน้าหน่วย และเจ้าหน้าที่เก็บรวบรวมมูลฝอย ปรากฏว่า ร้อยละ 39.3 ของ หัวหน้าตึก หัวหน้าห้อง หัวหน้าหน่วย ยังไม่ทราบถึงวิธีการเก็บรวบรวมมูลฝอยอันตรายที่เกิดขึ้นในวชิรพยาบาล โดยที่ร้อยละ 70.5 ของบุคลากรกลุ่มนี่ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมหรือแนะนำเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยอันตราย ในส่วนของเจ้าหน้าที่ที่เก็บรวบรวมมูลฝอยของวชิรพยาบาลนั้น ร้อยละ 28.3 ไม่ทราบว่ามูลฝอยอันตรายหมายถึงมูลฝอยประเภทใด และร้อยละ 42.5 ไม่เคยได้รับการฝึกอบรมหรือแนะนำเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยอันตรายในโรงพยาบาล จากการสำรวจปริมาณของมูลฝอยที่เกิดขึ้นในวชิรพยาบาล ปรากฏว่าอัตราการเกิดของมูลฝอยรวมทั้งหมดของวชิรพยาบาลเท่ากับ 2.293 กิโลกรัม/ เตียง/วัน อัตราการเกิดมูลฝอยอันตรายเท่ากับ 0.163 กิโลกรัม/ เตียง/วัน และอัตราการเกิดมูลฝอยติดเชื้อเท่ากับ 0.161 กิโลกรัม/เตียง/วันVajira is a general hospital with 889 beds, operated by the Department of Medical Services of the Bangkok Metropolitan Administration (BMA). It has an occupancy rate of 68.42 percent. The study reported here was undertaken in response to complaints regarding the hospital’s solid waste disposal practices. The survey found that the average daily amount of solid wastes in the Vajira Hospital was 2.293 kilograms per bed which accounted for hazardous wastes of 0.163 kilograms bed and infectious wastes of 0.161 kilogram per bed each day. The survey showed that non-infectious wastes in the Vajira Hospital were disposed into waste baskets and black plastic bags separated from infectious wastes which were put into red plastic bags. Blades and needles were separated and put into metallic cans and disfected before disposal. Then all solid wastes were taken away by the BMA garbage collecting truck. However, it was found that the separation of solid wastes in the Vajira Hospital was not properly done. The mixing between infectious and non-infectious wastes was often observed during the study period. Regarding to knowledge and practice of personnel, it was found that 39.3 percent of unit heads, head nurses and charge nurses did not know how to handle hazardous wastes. Out of this group, 70.5 percent of them had never been trained or supervised concerning hazardous waste disposal practice. A total of 28.3 percent of housekeepers did not know what the meaning of the hazardous wastes. Out of these housekeepers, 42.5 percent had never been trained or supervised about hazardous wastes in the hospital.38 mbapplication/pdfthaมหาวิทยาลัยมหิดลการจัดการมูลฝอยมูลฝอยวชิรพยาบาลรายงานการวิจัยเรื่องการจัดการมูลฝอยของวชิรพยาบาลการจัดการมูลฝอยของวชิรพยาบาลSolid waste management in Vajira hospitalResearch ReportChina Medical Board