มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์Manirat Therawiwatมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์2021-03-272021-03-272564-03-272555วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 35, ฉบับที่ 121 (พ.ค.- ส.ค. 2555), 1-11https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61917การจัดทำแผนงานโครงการตามหลักการจัดทำโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์นั้น ในแนวตั้งที่ 2 ของตารางเหตุผลสัมพันธ์ เป็นการพิจารณาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล ระหว่างสิ่งที่ต้องการประเมินตาม วัตถุประสงค์ของโครงการที่กำหนดไว้ในแต่ละระดับที่กำหนดไว้ในแนวตั้งแรกของตาราง กับดัชนีวัด ความสำเร็จ ซึ่งมีข้อเสนอแนะในการกำหนดดัชนีวัดความสำเร็จที่สำคัญดังนี้ 1. ในการกำหนดดัชนีในแนวตั้งที่ 2 ของตารางเหตุผลสัมพันธ์ ควรพิจารณาดัชนีที่ตรงกับระดับ ของสิ่งที่ต้องการวัดหรือระดับของการประเมิน ดัชนีที่ตรงกับระดับของสิ่งที่ต้องการวัดเรียกว่าดัชนีตรง (direct indicator) คือตรงกับวัตถุประสงค์ทั้ง 3 ระดับที่กำหนดไว้ อย่างไรก็ตามในช่วงการประเมิน อาจ พิจารณาใช้ดัชนีที่สูงกว่าหรือต่ำกว่าระดับที่ต้องการวัดได้ เรียกว่าดัชนีอ้อม และควรเลือกใช้ดัชนีอ้อมที่สูง กว่า เนื่องจากสะท้อนสิ่งที่จะวัดได้ดีกว่าดัชนีอ้อมที่ต่ำกว่า 2. ดัชนีที่จะใช้ประเมินวัตถุประสงค์ของแต่ละระดับอาจมีมากกว่า 1 ได้ กลุ่มดัชนีนี้เรียกว่า “ตัวชี้วัด” ถ้าเป็นไปได้ควรเลือกใช้ดัชนีเดียวที่มีความไวและตรงกับวัตถุประสงค์ของการนำผลที่ได้จากการ วัดตามดัชนีนั้นๆไปใช้ 3. การกำหนดดัชนีในการประเมินโครงการสุขศึกษา ควรจะต้องกำหนดทั้งปริมาณและคุณภาพ เนื่องจากความสำเร็จของโครงการในแต่ละระดับขึ้นอยู่กับความสำเร็จในด้านคุณภาพ 4. ดัชนีที่ดีควรมีความสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายที่จะทำการประเมิน หมายถึงดัชนีนั้นๆ สามารถ นำไปใช้วัดประเมินภายใต้เงื่อนไขของวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมายThe second column of Logical Framework Matrix presents the logical relation between what to be measured or objectives of the project specified in the first column that are specific objectives, general objectives, and goal and objectively verifiable indicators. In specifying the indicators the following suggestions should be considered. First, direct indicator should be identified. The direct indicator reflects specific properties of what will be measured, in this case are objectives of each level in the first column matrix. However, at the time of evaluation planning indicators at upper or lower level which were called indirect indicators could be used for evaluation. Since an upper indirect indicator is more reliable than a lower one then the upper indirect indicator should be chosen. Second, more than one indicator of the project objectives, is called “parameter”, in each level may be identified. It is suggested that if possible only one indicator that most useful for project management and administration should be selected. Third, both quantity and quality aspects of the selected indicators should be specified. Since program effectiveness largely relies on success of the program implementation according to the quality indicators. Fourth, good measurable indicators should be relevance to context of sources of data especially the life style or daily life practices of the sample to be used for data collection.thaมหาวิทยาลัยมหิดลดัชนีวัดความสำเร็จโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพตารางเหตุผลสัมพันธ์Health Promotion ProgramHealth education programLogical Framework Matrixดัชนีวัดความสําเร็จของแผนงานโครงการสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพตามหลักการจัดทําโครงการแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์Objectively Verifiable Indicators of Logical Framework Matrix for Health Education and Health Promotion ProgramArticleคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล