ปวีณา เจริญอักษรสุเทพ ศิลปานันทกุลวิธิดา พัฒนาอิสรานุกุลธวัช เพชรไทยSuthep SilapanuntakulWithida PatthanaissaranukoolTawach Prechthaiมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมMahidol university. Faculty of Public Health. Department of Environmental Health Sciences2015-12-162017-07-122015-12-162017-07-122558-12-162558วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ฉบับพิเศษ (2558), 77-890125-1678https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2575งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของไส้เดือนดิน Pheretima peguana และ Eisenia foetida ด้วยการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนของกากไขมันจากถังดักไขมันของระบบน้ำาเสียชุมชน โดยทำการเตรียมกากไขมัน ที่ความเข้มข้น 20% 40% และ80% โดยน้ำหนัก ในการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนมีการทำาปุ๋ยหมัก (ชุดควบคุม) ที่ปราศจากไส้เดือนดิน หาค่าประสิทธิภาพและสัมประสิทธิ์การกำาจัดกากไขมันของการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนและการทำาปุ๋ยหมัก เป็นเวลา 84 วัน จากการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพการกำาจัดกากไขมันที่ความเข้มข้น 20% 40% และ 80% ของการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน Pheretima peguana มีค่า mean(SD) เท่ากับ 84.2(4.5) 68.3(14.1) และ 53.8(10.7)% ตามลำดับ นอกจากนี้ ประสิทธิภาพการกำาจัดกากไขมันในการทำปุ๋ยหมัก มีค่า mean(SD) เท่ากับ 76.5(4.3) 55.4(21.7) และ 43.8(10.1)% ตามลำาดับ การทดลองพบค่าสัมประสิทธิ์การกำาจัดกากไขมันที่ 20% และ 40%ของการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน Pheretima peguana มีค่า mean(SD) เท่ากับ 0.6(0.09) และ 0.7(0.11)% ต่อวัน ซึ่งสูงกว่า Eisenia foetida และการทำาปุ๋ยหมัก ขณะที่ไม่มีความแตกต่างระหว่าง Eisenia foetida กับการทำาปุ๋ยหมัก นอกจากนี้ความเข้มข้นของกากไขมันที่เพิ่มขึ้นในกระบวนการทำาปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน ส่งผลให้อัตราการย่อยสลายกากไขมันลดลง This study aimed to determine the potential of Pheretima peguana and Eisenia foetida earthworms in a vermicomposting process for Fat, Oil and Grease (FOG) waste collected from grease traps of a municipal wastewater treatment system. Different ratios of FOG and night soil were prepared at 20%, 40% and 80% by weight for the vermicom- posting process. The composting process without adding any earthworms was also done in all conditions. The removal effi ciencies and degradation coeffi cients of FOG were then determined after 84 days of vermicomposting time. The average FOG removal effi ciency at 20, 40 and 80% FOG concentration with Pheretima peguana was 85.9(4.2), 86.5(5.2) and 57.0(6.0)% while that with Eisenia foetida was 84.2(4.5), 68.3(14.1) and 53.8(10.7)%, respectively. Moreover, the average FOG removal effi ciency of the composting process was found to be 76.5(4.3), 55.4(21.7) and 43.8(10.1)%, respectively. The FOG degradation coeffi cient of the vermicomposting process with Pheretima peguana at 20 and 40% FOG was 0.639(0.091) and 0.650(0.106) day-1, which is relatively higher than with Eisenia foetida under the same composting conditions. In fact, there was no difference in degradation between composting with Eisenia foetida and the composting process alone. In addition, the increase of the FOG concentration in the vermicomposting process leads to a decrease in the degradation rate of FOG.thaกากไขมันไส้เดือนดิน Pheretima peguanaไส้เดือนดิน Eisenia foetidaปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนปุ๋ยหมักFatOil and GreasePheretimaPeguanaEisenia FoetidaVermicompostingCompostingOpen Access articleวารสารสาธารณสุขศาสตร์Journal of Public Healthการย่อยสลายกากไขมันของไส้เดือนดิน Pheretima peguana และ Eisenia foetida ในกระบวนการหมักมูลไส้เดือนของกากไขมันร่วมกับดินค่ำDegradation of fat oil and grease with pheretima peguana or eisenia foetida earthworms in a vermicomposting process of scum mixed with night soilArticleมหาวิทยาลัยมหิดล.