Sarawut ThepanondhSopa ChinwetkitvanichWanida JinsartJutamas Khaosang2024-02-072024-02-07201420142014Thesis (M.Sc. (Environmental Technology))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95233Environmental Technology (Mahidol University 2014)This study aimed to develop the emission factor of household VOCs. The emission factor and emission inventory of household chemical activity are developed taking into consideration local characteristics of the households in Thailand. Activities data in this study are collected in Rayong province. These data will serve and assist in developing the emission database under the Pollutant Release and Transfer Registration (PRTR) program for a non-point source emission estimation. Emission factors of NOx, based on amount of LPG usage per household per year are calculated for different size of household. These values are 142.20, 213.30 and 426.60 kg of NOx /1000 household/year for small, medium and large sizes of household, respectively. It is estimated that the total amount of NOx emissions from household's LPG cooking will be about 60.31 tons per year in Rayong province. Four VOCs, listed under PRTR target chemical were estimated for their emission rate and amount of release per year. Emission factor of isopropyl alcohol from the use of cleaning product was 0.266 kg/1000 household/year. Emission factor of 1,4-Dichlorobenzene and naphthalene 234.046 kg/1000 household/year and 45.057 kg/1000 household/year, respectively. Emission factor of acetone from the use of nail cleaning product was 16.534 kg/1000 household/year. Emission amounts were estimated as 90.282 kg/year, 79,316.880 kg/year, 15,269.534 kg/year and 5,603.358 year for isopropyl alcohol, 1,4-Dichlorobenzene, naphthalene and acetone, respectively.การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาค่า Emission factor จากสารอินทรีย์ระเหยที่ใช้ใน ครัวเรือน โดยค่า Emission factor และค่าปริมาณการระบายมลพิษของกิจกรรมการใช้สารอินทรีย์ระเหยใน ครัวเรือน ได้รับการพัฒนาโดยคำนึงถึงลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นของครัวเรือนในประเทศไทย ข้อมูลกิจกรรมในการศึกษานี้จะถูกเก็บรวบรวมในจังหวัดระยอง ข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการพัฒนาฐานข้อมูลการปล่อยมลพิษภายใต้การดำเนินงานด้านการประเมินการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR) สำหรับแหล่งกาเนิดประเภท non-point source ค่า Emission factor ของออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) อ้างอิงจากปริมาณการใช้แก๊สแอลพีจีต่อครัวเรือนต่อปีของครัวเรือนแต่ละขนาด มีค่าเท่ากับ 142.2, 213.3 และ 426.6 กิโลกรัม ของ NOx ต่อ 1000 ครัวเรือนต่อปี สำหรับครัวเรือนขนาดเล็ก ครัวเรือนขนาดกลาง และครัวเรือนขนาดใหญ่ ตามลำดับ โดยปริมาณการระบาย NOx จากการใช้แก๊สแอลพีจีในการประกอบอาหารจากครัวเรือนมีค่าประมาณ 60.31 ตันต่อปี ในจังหวัดระยอง การศึกษานี้ได้พัฒนาค่า Emission factor และปริมาณการระบายต่อปี ของสารอินทรีย์ระเหยทั้ง 4 ชนิด ที่ปรากฏในรายการสารเคมีของ PRTR โดยค่า Emission factor ของสาร ไอโซโพรพิลแอลกอฮอลด์ จากการ ใช้ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด มีค่าเท่ากับ 0.266 กิโลกรัมต่อ 1000 ครัวเรือนต่อปี สาร 1-4 ไดคลอโรเบนซีน มีค่า เท่ากับ 234.046 กิโลกรัมต่อ 1000 ครัวเรือนต่อปี สารแนฟทาลีน มีค่าเท่ากับ 45.057 กิโลกรัมต่อ 1000 ครัวเรือนต่อ ปี และสารอะซีโตน มีค่าเท่ากับ16.534 กิโลกรัมต่อ 1000 ครัวเรือนต่อปี โดยปริมาณการระบายต่อปีของสาร ไอโซ โพรพิลแอลกอฮอลด์, 1-4 ไดคลอโรเบนซีน, สารแนฟทาลีน และสารอะซีโตน ที่ระบายจากการใช้สารเคมีใน ครัวเรือนมีค่าเท่ากับ 90.282 กิโลกรัมต่อปี, 79,316.880 กิโลกรัมต่อปี, 15,269.534 กิโลกรัมต่อปีและ 5,603.358 กิโลกรัมต่อปี ตามลำดับxi, 110 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าNitrogen oxidesAir Pollution -- MeasurementVolatile organic compounds -- Environmental aspectsEmission factor for household VOCs in Rayong province, ThailandEmission factor สำหรับสารอินทรีย์ระเหยจากครัวเรือนในจังหวัดระยอง ประเทศไทยMaster ThesisMahidol University