มูนียะห์ กูโนอัษฎางค์ อยู่บรรพตมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จ พระเทพรัตน์2022-06-302022-06-302565-06-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71995ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 28แผนกผิวหนังให้บริการทดสอบภูมิแพ้ผิวหนังโรคลมพิษด้วยวิธี Autologous serum skin test/ Autologous plasma skin test เป็นการทดสอบโรค ลมพิษเรื้อรังที่เกิดจากภูมิต้านตนเอง ว่าผู้ป่วยมีภาวะแพ้น้ำเหลืองของตนเอง หรือไม่ โดยฉีดซีรัมและพลาสมาของผู้ป่วยเองเข้าในชั้นผิวหนัง บริเวณ ท้องแขนต้องให้ขึ้นตุ่มนูน 6-7 มิลลิเมตร สารทดสอบต้องมีลักษณะใส ทำโดย เจาะเลือดผู้ป่วยใส่ clotted blood tube และ citrate tube นำไปปั่นแยก ตะกอนด้วยเครื่องหมุนเหวี่ยง ปัญหาที่พบคือ เมื่อวาง tube เลือดแนบคู่กับ syringe ที่มีซีรัมและ พลาสมาในแนวราบบนถาดให้แพทย์ทวนสอบความถูกต้อง ส่งผลให้ตะกอน ลอยขึ้นมาปนเปื้อน เกิดปฏิกิริยาทดสอบเป็นบวกลวง กรณีที่ต้องฉีดสาร ทดสอบซ้ำ ต้องเตรียมสารใหม่ตั้งแต่ขั้นตอนแรก ทำให้เกิดความล่าช้า จากปัญหาดังกล่าว ทีมได้ประดิษฐ์ Tube container ที่มี ประสิทธิภาพ สามารถวาง tube ในแนวตั้ง ไม่มีการปนเปื้อนตะกอน กรณีที่ ฉีดสารทดสอบซ้ำ สามารถฉีดทดสอบได้ทันที พบว่าลดระยะเวลาใน กระบวนการทดสอบซ้ำ ร้อยละ 41.67 และอัตราความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ ต่อการใช้ Tube container ร้อยละ 90thaมหาวิทยาลัยมหิดลTube containerAutologous serum skin testAutologous plasma skin testภูมิแพ้ผิวหนังโรคลมพิษโรคลมพิษเรื้อรังMahidol Quality FairTube container : Change for the betterProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล