Apichart ChaittacharoenSomsak SuthutvoravutThoranin SujjaviriyasupRattanaporn Khamthanet2024-01-102024-01-10201920192024Thesis (M.Sc. (Human Reproduction and Population Planning))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92211Human Reproduction and Population Planning (Mahidol University 2019)Immigrant women factory workers women have poor knowledge and attitude, and reproductive health misbehavior. The objective of the study was to study factors associated with knowledge, attitude and reproductive health behavior of Thai and immigrant women factory workers. Analytic study included 107 Thai women workers and 107 immigrant women workers. Data was collected from June 4, 2018 to January 31, 2019 by questionnaires which included personal characteristics, knowledge, attitude and behavior related to reproductive health. Data was analyzed using Descriptive statistics, Chi-square test and stepwise logistic regression analysis. The results showed that personal characteristics of immigrant women workers were different from Thai women workers. Most of Thai women workers were older, married and better educated, and had better economic statuses, and they had to pay for medical expenses on their own. The knowledge and attitude toward reproductive health of Thai women workers were significantly better than those of immigrant women workers (p < 0.05). However, the general reproductive health behavior of Thai and immigrant women workers were not significant different. However, pregnancy related reproductive health behavior of immigrant women workers were better than Thai women, especially in terms of exclusive breastfeeding. By stepwise logistic regression analysis, knowledge of reproductive health was associated with nationality and income. Attitude toward reproductive health was associated with nationality, marital status, income, education and types of health insurance. General reproductive health behavior was significantly associated with marital status and education. Only residency was significantly associated with pregnancy related reproductive health behavior. In conclusion, specific program should be set up to improve knowledge and attitude of immigrant women factory workers.แรงงานสตรีข้ามชาติที่มาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยน่าจะมีความรู้ ทัศนคติและ พฤติกรรมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ที่ไม่เหมาะสม วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมสุขภาพด้านอนามัยเจริญพันธุ์ระหว่างแรงงานสตรีไทยและแรงงานสตรีข้ามชาติในโรงงานอุตสาหกรรม การศึกษาเชิงพรรณนาโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล แบ่งเป็นแรงงานสตรีไทย 107 รายและแรงงานสตรีข้ามชาติ 107 ราย ในโรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรสาคร ช่วงเดือนมิถุนายน 2561 - มกราคม 2562 วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรใช้ Chi-square, Fisher's exact test และ วิเคราะห์การถดถอยพหุโลจิสติกส์ โดยกำหนดค่านัยสำคัญที่ P < 0.05 ผลการศึกษาพบว่าแรงงานสตรีข้ามชาติมีลักษณะทางประชากรแตกต่างกับแรงงานสตรีไทยได้แก่ สตรีไทยมีอายุมากกว่า สมรสมากกว่า ระดับการศึกษาสูงกว่า รายได้ ที่อยู่อาศัยดีกว่า ในส่วนของสิทธิการรักษาสตรีไทยมีการจ่ายเองมากกว่า ด้านความรู้และทัศนคติของอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรีไทยดีกว่าสตรีข้ามชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) ในส่วนพฤติกรรมด้านอนามัยเจริญพันธุ์ทั่วไปพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน แต่พฤติกรรมในการดูแลตนเองขณะ ตั้งครรภ์พบว่าสตรีข้ามชาติมีพฤติกรรมดีกว่าแรงงานสตรีไทยในแง่ของการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ เมื่อทำการวิเคราะห์การถดถอยพหุโลจิสติกส์ พบว่า ความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติและรายได้ ทัศนคติด้านอนามัยเจริญพันธุ์ของ สตรีขึ้นอยู่กับ เชื้อชาติ สถานภาพสมรส รายได้ ระดับการศึกษา และสิทธิการรักษา พฤติกรรมสุขภาพอนามัยเจริญพันธุ์ ทั่วไปขึ้นอยู่กับสถานภาพสมรส และระดับการศึกษา สำหรับพฤติกรรมในการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ขึ้นอยู่กับ ที่อยู่อาศัย ความรู้และทัศนคติด้านอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรีข้ามชาติอยู่ในระดับต่ำกว่าสตรีไทยควรส่งเสริมให้ความรู้ ให้คำแนะนำเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์อย่างเหมาะสมแก่สตรีข้ามชาติviii, 81 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าWomen immigrants -- Thailand -- Samut SakhonReproductive health -- Thailand -- Samut SakhonComparison of knowledge, attitude and reproductive health behavior between Thai and immigrant women workers in factories in Samut Sakhon provinceการเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพการเจริญพันธุ์ระหว่างแรงงานสตรีไทยและแรงงานสตรีข้ามชาติในโรงงานอุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรสาครMaster ThesisMahidol University