นิภา วัธนเวคินNipa Wattanawaekinมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล2020-02-182020-02-182563-02-182553รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 16, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2553), 432-4420858-9739 (Print)2672-9784 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/52436อาการปวดตาเป็นภาวะไม่สุขสบายที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานต่อบุคคลเป็นอย่าง มาก ผู้ที่มีอาการปวดตามักรู้สึกกลัว วิตกกังวลต่อการสูญเสียการมองเห็น การจัดการอาการ ปวดตาเพื่อบรรเทาความทุกข์ทรมานจึงควรเริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยมีอาการปวด โดยมีการประเมิน อาการตามคำบอกเล่าและเชื่อในสิ่งที่ผู้ป่วยบอก การจัดการอาการปวดตานั้นอาจทำได้หลายวิธี ทั้งที่เป็นบทบาทอิสระและที่ไม่ใช่บทบาทอิสระของพยาบาลขึ้นกับสาเหตุและพยาธิสภาพของ ความปวดตาในขณะนั้น นอกจากนี้ การให้ความรู้ การส่งเสริมสุขภาพแก่บุคคล ยังเป็นสิ่งที่ พยาบาลพึงกระทำเพื่อลดและป้องกันการเกิดอาการปวดตา ซึ่งจะช่วยป้องกันความพิการทาง สายตาที่อาจเกิดขึ้นจากอาการปวดตาได้Eye pain is an unpleasant feeling. It causes much grief to affected persons. People, who suffer from eye pain, are usually frightened for their loss of vision. Nurses who manage eye pain of patients should focus on patients’ symptoms early by assessing and believing in their expressions. Nursing management can be done with various methods both dependent and independent roles, depending on causes and the pathology. In addition, nurses should play an important role in enhancing persons’ knowledge involving health promotion in order to prevent them from eye pain and to protect them against the visual impairment.thaมหาวิทยาลัยมหิดลอาการปวดตาการจัดการความปวดการจัดการทางการพยาบาลEye painPain managementNursing managementการจัดการอาการปวดตา: บทบาทของพยาบาลEye Pain: Nursing ManagementArticleฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล