SuyitnoJiraporn ChompikulSariyamon TiraphatKhin Sandar Anyeซูยิตโนจิราพร ชมพิกุลศริยามน ติรพัฒน์คิน แซนดา แอนMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2021-05-122021-05-122021-05-122019Journal of Public Health and Development. Vol.17, No.1 (Jan-Apr 2019), 31-451905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62135Diarrheal disease among children remains a major cause of morbidity and mortality worldwide. The youngest children are most vulnerable with the highest incidence of severe diarrhea in the first two years of life. A cross-sectional study was conducted to determine prevalence and risk factors for diarrhea in children aged less than two years in Central Kalimantan Province, Indonesia. The multi-stage cluster sampling was used to draw a sample of 469 respondents. The data collection was conducted from March to April 2018 using a structured questionnaire. Data were analyzed using Chi-square tests and multiple logistic regression to examine factors associated with diarrhea. The results of this study showed that all of the respondents were females. Prevalence of diarrhea during the last two weeks in children aged less than two years was 16%. The results of multiple logistic regression showed that caregivers who had low family income (Adj. OR= 6.53, 95% C.I=2.99-14.25), poor practice of food preparation (Adj. OR=9.61, 95% C.I=4.15-22.30), poor to moderate knowledge about diarrhea and prevention (Adj. OR=5.17, 95% C.I=2.35-11.38) and poor healthcare accessibility (Adj. OR=5.88, 95% C.I=2.74-12.63) were statistically significant risk factors for diarrhea in children aged less than two years. These findings suggested that public health providers should design public health programs for public health centers to provide mothers, other family members and caregivers with health information regarding diarrhea prevention. Comprehensive information should be delivered, including food preparation, feeding behavior and good formula milk feeding practice to their children.โรคอุจจาระร่วงในเด็กยังคงเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตทั่วโลก เด็กที่ยิ่งอายุน้อยมี ความเสี่ยงที่จะมีอาการท้องร่วงรุนแรงเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในช่วงสองปีแรกของชีวิต การศึกษาแบบภาคตัดขวางมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงต่อโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่าสองปีในจังหวัดกาลิมันตันกลาง ประเทศ อินโดนีเซีย โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหลายขั้นตอนเพื่อสุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถาม 469 คน รวบรวม ข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน 2561 โดยใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบ ไคสแควร์และการถดถอยโลจิสติกพหุตูณเพื่อตรวจสอบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคอุจจาระร่วง ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามทุกคนเป็นเพศหญิง ความชุกของโรคอุจจาระร่วงในช่วงสองสัปดาห์ ที่ผ่านมาในเด็กที่อายุน้อยกว่าสองปีคือ 16% ผลของการวิเคราะข้อมูลด้วยการถดถอยโลจิสติกพหุคูณพบว่าผู้ดูแล ที่มีรายได้ครอบครัวต􀄬่ำ (Adj. OR=6.53, 95% CI=2.99-14.25) การปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องของการเตรียมอาหาร (Adj. OR=9.61, 95% CI=4.15-22.30) การมีความรู้น้อยถึงปานกลาง (Adj. OR=5.17, 95% CI=2.35-11.38) และความ ไม่สดวกในการเข้าถึงการดูแลสุขภาพ (Adj. OR=5.88, 95% CI=2.74-12.63) เป็นปัจจัยเสี่ยงที่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่าสองปี ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าผู้ให้บริการสาธารณสุขควรกำหนดกิจกรรมด้านสาธารณสุขสำหรับศูนย์บริการ สาธารณสุขในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันโรคอุจจาระร่วงแก่มารดา สมาชิกในครอบครัวและผู้ดูแลเด็ก ข้อมูลที่ให้ควรจะครอบคลุมถึงการเตรียมอาหาร พฤติกรรมการให้อาหาร และการฝึกฝนการให้นมผสม แก่เด็กอย่างถูกต้องengMahidol Universityrisk factorsdiarrheachildren aged less than two yearsปัจจัยเสี่ยงโรคอุจจาระร่วงเด็กที่อายุน้อยกว่าสองปีPrevalence and risk factors for diarrhea among children aged less than two years in Central Kalimantan Province, Indonesiaความชุกและปัจจัยเสี่ยงของโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ขวบ ในจังหวัดเซ็นทรัลกาลิมันตัน ประเทศอินโดนีเซียOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol University