Mahidol University's Institutional Repository

คลังสารสนเทศสถาบันของมหาวิทยาลัยมหิดล

"Wisdom Repository You Discover"

To collect Mahidol University's academic publications and intellectual properties more than 39 faculties

To present over 50,000 items of information in digital formats

To make it easy to access to all information at anytime, anywhere

 

Recent Submissions

Item
นวัตกรรมเอี๊ยมฝังเข็ม
(2017) นวลอนงค์ พิมโคตร; Nuananong Pimkhot
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษานวัตกรรมที่พยาบาลคิดค้นขึ้น เพื่อช่วยในการปฏิบัติงานประจำวันให้มีประสิทธิภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของนวัตกรรมเอี๊ยมฝังเข็มและศึกษาความพึงพอใจของทีมฝังเข็มที่มีต่อนวัตกรรมเอี๊ยมฝังเข็ม ที่แผนกแพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นการศึกษาเชิงทดลองโดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ที่ปฏิบัติงานในเวลาราชการ (08.00 – 16.00 น.) ที่แผนกแพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จำนวน 12 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ที่ปฏิบัติงานในเวลาราชการ (08.00 – 16.00 น.) ที่แผนกแพทย์แผนจีน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ที่สมัครใจเข้าร่วมการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบ 2 กลุ่มคือ 1.กลุ่มควบคุม (ไม่ใส่เอี๊ยมฝังเข็ม) 2.กลุ่มทดลอง (ใส่เอี๊ยมฝังเข็ม)โดยใช้การสุ่มวันที่จากคอมพิวเตอร์เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจของแพทย์ พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกระยะเวลาที่ใช้ในการช่วยแพทย์ทำหัตถการฝังเข็มและถอนเข็มวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Independent Sample T- Test ผลการศึกษาพบว่าการใส่เอี๊ยมฝังเข็มสามารถลดระยะเวลาเฉลี่ยในการช่วยแพทย์ทาหัตถการฝังเข็ม (Mean=7.38, SD=3.672) ลดลงกว่าระยะเวลาเฉลี่ยที่ช่วยแพทย์ทาหัตถการฝังเข็มด้วยวิธีปกติ (ไม่ใส่เอี๊ยมฝังเข็ม) (Mean=10.93,SD=4.884) และระยะเวลาเฉลี่ยในการถอนเข็มโดยการใช้นวัตกรรมเอี๊ยมฝังเข็ม (Mean=3.63, SD=1.171) ลดลงกว่าระยะเวลาเฉลี่ยในการถอนเข็มด้วยวิธีปกติ (ไม่ใส่เอี๊ยมฝังเข็ม) (Mean=5.19,SD=1.822) สำหรับความพึงพอใจของทีมฝังเข็มต่อการใช้เอี๊ยมฝังเข็ม พบว่าค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (มากกว่า 4.20 คะแนน) ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องของรูปแบบนวัตกรรม ความสะดวกในการใช้นวัตกรรมและวัสดุที่ใช้ในการทานวัตกรรมเป็นต้น สรุป นวัตกรรม “เอี๊ยมฝังเข็ม”ที่พยาบาลคิดค้นขึ้นเพื่อช่วยแพทย์ทาหัตถการฝังเข็ม และการถอนเข็มสามารถลดระยะเวลาในการฝังเข็ม และการถอนเข็มเพิ่มความพึงพอใจให้กับทีมฝังเข็ม ผลงานนี้สามารถพัฒนาต่อยอดในการใช้เอี๊ยมฝังเข็มช่วยแพทย์ในการฝังเข็มและถอนเข็มในการบริการทางคลินิกทาให้เกิดความรวดเร็วและเกิดความสะดวกแก่ทีมฝังเข็มมากขึ้น และช่วยกระตุ้นให้บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับได้เห็นขั้นตอนการทา R2R ซึ่งไม่ยุ่งยากซับซ้อน แต่เป็นการแก้ปัญหาจากงานประจำที่ทำอยู่ทุกวันให้ดีขึ้น ผลงาน “เอี๊ยมฝังเข็ม”เป็นแรงกระตุ้นให้พยาบาลคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆที่ช่วยเสริมการดูแลผู้มารับบริการให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น และรู้สึกภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน
Item
การดำเนินของโรคติ่งเนื้อขนาดกลางในถุงน้ำดี
(2017) ธาดา ยงค์ประดิษฐ์; ร่มเย็น จิตมุ่งงาน
ติ่งเนื้อในถุงน้ำดี : (gallbladder polyps) เป็นภาวะที่มีการเจริญยื่นของติ่งเนื้อผิดปกติออกมาจากผนังด้านในของถุงน้ำดีภาวะความผิดปกตินี้มักไม่แสดงอาการและมักพบดดยบังเอญจากการตรวจ อัลตร้าซาวด์ติ่งเนื้อในถุงน้ำดีที่มากกว่า หรือเท่ากับ ๑๐ mm. ถือเป็นข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดเพราะมีความเสี่ยงต่อการเกิดดมะเร็งของถุงน้ำดีในขณะที่ติ่งเนื้อในถุงน้ำดีที่น้อยกว่า หรือเท่ากับ ๖ mm. แทบจะไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งของถุงน้ำดี ในขณะเดียวกันติ่งเนื้อในถุงน้ำดีที่มีขนาดมากกว่า ๖ mm. แต่ไม่เกิน ๑๐ mm. ยังมีการศึกษาถึงน้อย วัตถุปรสงค์ : งานวิจัยนี้มุ่งหวังที่จะเป็นการศึกษาติดตามการดำเนินของโรคในผู้ป่วยที่มีติ่งเนื้อในถุงน้ำดี ขนาดมากกว่า ๖ mm. แต่ไม่เกิน ๑๐ mm. ที่ได้รับการตรวจวินิจฉัยและรักษาในศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก เพื่อนำมาวิเคราะห์และปรับใช้ในการรักษาและติดตามต่อไป ขั้นตอนในการดำเนินการวิจัย : ผู้ป่วยทุกคนที่มีติ่งเนื้อในถุงน้ำดี ขนาดมากกว่า ๖ mm. แต่ไม่เกิน ๑๐ mm. ที่ได้รับการวินิจฉัยจากการตรวจอัลตร้าซาวด์ในศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จะได้รับการติดตามอาการที่หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกศัลยกรรมและตรวจอัลตร้าซาวด์ทุก ๖ เดือน จนครบเวลาอย่างน้อย ๒ ปี เพื่อติดตามอาการของผู้ป่วย และการเปลี่ยนแปลงของติ่งเนื้อในถุงน้ำดีผู้ป่วยจะได้รับข้อมูลเพื่อตัดสินใจผ่าตัดเมื่อมีข้อบ่งชี้ อันได้แก่ มีอาการผิดปกติจากถุงน้ำดี, ขนาดของติ่งเนื้อในถุงน้ำดีโตขึ้น, ขนาดของติ่งเนื้อในถุงน้ำดีมากกว่าหรือเท่ากับ ๑๐ mm., มีความผิดปกติของถุงน้ำดีจากการตรวจอัลตร้าซาวด์ที่แสดงว่ามีการอักเสบหรือหนาตัวผิดปกติของถุงน้ำดี, ผู้ป่วยต้องการผ่าตัด ผลการศึกษา : จาการศึกษานีี้พบผู้ป่วยที่มีติ่งเนื้อในถุงน้ำดี ขนาดมากกว่า ๖ mm. แต่ไม่เกิน ๑๐ mm. ๓๕ รายภายในระยะเวลา ๒ ปี, พบมีสัดส่วนของผู้ป่วยผู็หญิง (๖๐%) มากกว่าผู็ป่วยผู้ชาย (๔๐%), ผู้ป่วยมีดรคร่วมเป็นโรคไขมันในโลหิตสูงถึง ๔๐% และโรคเบาหงาน ๒๐ % ผู็ป่วยที่มีอายุประมาณ ๕๐ ปีขึ้นไป ตรวจพบติ่งเนื้อในถุงน้ำดีได้มากกว่า จากการติดตามผู้ป่วยที่มีตื่งเนื้อในถุงน้ำดีโดยใช้การตรวจอัลตร้าซาวด์ พบว่า ๗๗% ติ่งเนื้อมีขนาดคงที่ไม่โตขึ้น, อัตราการโตของติ่งเนื้อในถุงน้ำดีมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ ๐.๐๕ mm. ต่อเดือนม 9 mm.มีอัตราการโตอย่างรวดเร็วเฉลี่ย ๐.๐๕ mm. ต่อเดือน (๑๐ เท่า) มีผู็ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัดถุงน้ำดีตามข้อบ่งชี้ ๕ ราย คิดเป็น ๑๔.๓% ๓ใน ๕ (๖๐%) ได้รับผ่าตัดเนื่องจากขนาดของติ่งเนื้อในถุงน้ำดี ซึ่งตรวจพบร่วมกันกับติ่งเนื้อในถุงน้ำดี อุบัติการณ์การเกิดมะเร็งเท่ากับ ๐% พบ ๑ ราย เป็น adenomatous polyp (premalignant lesion) ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทั้ง ๕ ราย พบว่ามีผลชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยาเข้าได้กับการอักเสบเรื้อรังของถุงน้ำดี (chronic cholecystitis) ทุกรายและไม่พบภาวะแทรกซ้อนใดหลังผ่าตัด ข้อสรุป ติ่งเนื้อในถุงน้ำดีขนาดมากกว่า ๖ mm. แต่ไม่เกิน ๑๐ mm. ไม่มีอาการผิดปกติ ถ้าไม่มีนิ่วในถุงน้ำดีร่วม โดยมักจะพบติ่งเนื้อในถุงน้ำดีได้ในผู้ป่วยผู้หญิงอายุ ต้งแต่ ๕๐ ปีขึ้นไป ที่มีโรคเบาหวานและไขม้นในโลหิตสูง ร่วมด้วยมากกว่า ๒ ใน ๓ มีขนาดคงที่ไม่โตขึ้น จะมีเพียงติ่งเนื้อที่มีขนาดใหญ่ขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มติ่งเนื้อที่ขนาดใกล้กับ ๑๐ mm. ที่มีอัตราการโตเป็น ๑๐ เท่าของปกติ
Item
Periodic Table of Food Initiative for generating biomolecular knowledge of edible biodiversity
(2024-01-01) Jarvis A.; Gallo-Franco J.; Portilla J.; German B.; Debouck D.; Rajasekharan M.; Khoury C.; Herforth A.; Ahmed S.; Tohme J.; Arnaud E.; Golden C.D.; Dawid C.; de Haan S.; DeClerck F.; Feskens E.J.M.; Fogliano V.; Fritz G.; Hald C.; Hall R.; Hart R.; Henry A.; Huang S.; Hunter D.; Imanbaeva B.; Lowe A.; Turner N.J.; Jia G.; Johnson E.; Kalaiah G.; Karboune S.; Klade S.; La Cerva G.R.; Lal V.; Levy A.A.; Longvah T.; Maeda-Yamamoto M.; Minnis P.; Nuti M.; Octavio M.; Osorio C.; Pawera L.; Peter S.; Prasad R.; Quave C.; Shapiro H.Y.; Sreeman S.; Srichamnong W.; Steiner R.; Turdieva M.; Ulian T.; van Andel T.; Wang R.; Weissgold L.; Yan J.; de la Parra J.; Jarvis A.; Mahidol University
The Periodic Table of Food Initiative addresses food biomolecular composition information gaps through a standardized, accessible and enabling platform based on analytical tools, data and capacity building. Data from 1,650 foods serve as starting point for demonstrating the capacity of this initiative to contribute to nutrition, health and food systems transformations.
Item
Prevalence and predictors of discharge polypharmacy in geriatric patients discharged from an Indonesian teaching hospital: a retrospective observational study
(2024-01-01) Faisal S.; Zairina E.; Nathishuwan S.; Khotib J.; Kristina S.A.; Nugraheni G.; Faisal S.; Mahidol University
Objective: The study aimed to investigate the prevalence and risk factors for discharge polypharmacy in geriatric patients in Indonesia. Methods: The retrospective cohort study used the medical record profiles of geriatric patients aged ≥ 60 years admitted to the inpatient ward between July 2018 and October 2019. Using three logistic regression models, we assessed the association of the patient’s demographic, clinical characteristics, and disease condition with discharge polypharmacy. The use of five or more medications was defined as discharge polypharmacy. Results: A total of 1533 patients were included in the study. Most patients (78.21%) aged between 60 and 74 years. The male-to-female patient ratio was almost the same (50.16% versus 49.83%). Of the patients (52.51%) were discharged with polypharmacy. According to regression model I, patients who had a chronic condition, comorbidity, stayed in the hospital for ≥ seven days, had a Charlson comorbidity index score (3-4), and received excessive polypharmacy (≥ 10 drugs) during admission had significantly more risk (p< 0.05) to receive polypharmacy at discharge. The results of model II investigated myocardial infarction, congestive heart failure, peripheral vascular disease, cerebrovascular disease, chronic obstructive pulmonary disease, diabetes mellitus, diabetes with complications, renal disease, and high blood pressure as significant (p<0.05) predictors of discharge polypharmacy. The combined model III evaluated that comorbidity, length of hospital stay (7 or more days), excessive polypharmacy use in the hospital, myocardial infarction, and congestive heart failure were significantly (P < 0.05) associated with discharge polypharmacy. Conclusions: Polypharmacy is common in Indonesia and is linked to certain chronic conditions and other clinical factors. A particular plan that includes a pharmacist and physician collaborative relationship and awareness of the health outcomes of polypharmacy could be critical.
Item
Diagnostic and antibiotic use practices among COVID-19 and non-COVID-19 patients in the Indonesian National Referral Hospital
(2024-03-01) Sinto R.; Lie K.C.; Setiati S.; Suwarto S.; Nelwan E.J.; Karyanti M.R.; Karuniawati A.; Djumaryo D.H.; Prayitno A.; Sumariyono S.; Sharland M.; Moore C.E.; Hamers R.L.; Day N.P.J.; Limmathurotsakul D.; Sinto R.; Mahidol University
Background Little is known about diagnostic and antibiotic use practices in low and middle-income countries (LMICs) before and during COVID-19 pandemic. This information is crucial for monitoring and evaluation of diagnostic and antimicrobial stewardships in healthcare facilities. Methods We linked and analyzed routine databases of hospital admission, microbiology laboratory and drug dispensing of Indonesian National Referral Hospital from 2019 to 2020. Patients were classified as COVID-19 cases if their SARS-CoV-2 RT-PCR result were positive. Blood culture (BC) practices and time to discontinuation of parenteral antibiotics among inpatients who received a parenteral antibiotic for at least four consecutive days were used to assess diagnostic and antibiotic use practices, respectively. Fine and Grey subdistribution hazard model was used. Results Of 1,311 COVID-19 and 58,917 non-COVID-19 inpatients, 333 (25.4%) and 18,837 (32.0%) received a parenteral antibiotic for at least four consecutive days. Proportion of patients having BC taken within ±1 calendar day of parenteral antibiotics being started was higher in COVID-19 than in non-COVID-19 patients (21.0% [70/333] vs. 18.7% [3,529/18,837]; p<0.001). Cumulative incidence of having a BC taken within 28 days was higher in COVID-19 than in non-COVID-19 patients (44.7% [149/333] vs. 33.2% [6,254/18,837]; adjusted subdistribution-hazard ratio [aSHR] 1.71, 95% confidence interval [CI] 1.47–1.99, p<0.001). The median time to discontinuation of parenteral antibiotics was longer in COVID-19 than in non-COVID-19 patients (13 days vs. 8 days; aSHR 0.73, 95%Cl 0.65–0.83, p<0.001). Conclusions Routine electronic data could be used to inform diagnostic and antibiotic use practices in LMICs. In Indonesia, the proportion of timely blood culture is low in both COVID-19 and nonCOVID-19 patients, and duration of parenteral antibiotics is longer in COVID-19 patients. Improving diagnostic and antimicrobial stewardship is critically needed.