Browsing by Author "ธัชวีร์ ลีละวัฒน์"
Now showing 1 - 5 of 5
- Results Per Page
- Sort Options
Publication Open Access Short- and Long-term Performance of Fibre-Reinforced Cement Profile Sheets Containing Asbestos and Non-asbestos Materials(2012-12) ธัชวีร์ ลีละวัฒน์; Thatchavee Leelawat; Mahidol University. Faculty of Engineering. Department of Civil and Environmental EngineeringThe paper was aimed at comparing the performance of roof products in asbestos- and non-asbestos-reinforced cement profile sheets. Four brands of cement tiles were blinded and then sent for investigation. They were classified as blue, brown, red and green tiles. The physical and chemical tests were conducted to distinguish the properties of these tiles. The short-term properties of cement tiles were determined by breaking load per metre width. Whereas the impermeability, warm water, and heatrain tests were conducted for the determination of long-term properties for all types of cement tiles. The results undertaken have shown that blue and brown tiles had similar types of fibres which were shorter than those fibres of red and green tiles. The bending results of blue and brown tiles were significantly higher than those red and green tiles. However, the blue tiles exhibited the worst impermeability results due to their imperfection of coating. Whereas the test conditioning the tiles in warm water was found that only green tiles could not meet with the requirement of ISO 9933 standard. The heat-rain test for all of the tiles being investigated was found to meet with the standard criterion.Publication Metadata only การประเมินปริมาณและองค์ประกอบของของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอาคารในกรุงเทพมหานคร(2007-12) อุษณีย์ อุยะเสถียร; อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย; ธัชวีร์ ลีละวัฒน์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ในการศึกษานี้ได้ทาการประเมินปริมาณและองค์ประกอบของของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอาคารในกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาวิธีการประเมินปริมาณและองค์ประกอบของของเสียและให้ได้ข้อมูลพื้นฐานไปใช้ในการวางแผนจัดการของเสีย และได้ประเมินจาก 4 กิจกรรม ได้แก่ การก่อสร้างอาคารที่อยู่อาศัย การก่อสร้างอาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย การรื้อถอนอาคารที่อยู่อาศัย และการรื้อถอนอาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย โดยทาการประเมินจากวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างตามแบบรายละเอียดก่อสร้าง ในการประเมินของเสียจากการก่อสร้างคานวณจากเปอร์เซ็นต์การสูญเสียวัสดุ ได้ปริมาณของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนอาคารที่อยู่อาศัยและอาคารที่ไม่ใช่ที่อยู่อาศัย 489, 584.21 ตันในปี 2548 และมีองค์ประกอบหลัก คือ คอนกรีต อิฐ และเหล็ก ข้อมูลที่ได้จะกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทาการวางแผนจัดการของเสียประเภทนี้ ตั้งแต่การลดของเสียที่แหล่งกำเนิด การใช้ซ้ำ การรีไซเคิล และการกำจัด.Item Metadata only การศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งก่อสร้างสำหรับประเทศไทย : รายงานฉบับสมบูรณ์(2550) อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย; ธัชวีร์ ลีละวัฒน์; อุษณีย์ อุยะเสถียร; ศยามล สายยศ; นิสา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต; พงศกร พงศ์สุริยนันท์; Kossmnn, Werner; Fimpel, John Ulrich; สุณี ปิยะพรนธุ์พงศ์; นภวัส บัวสรวง; ไชยา บุญชิด; จิราภรณ์ นวลทอง; ชุติมา จงภักดี; กระทรวงทรัพยากระรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรมควบคุมมลพิษ; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์; German Tehnical CooperationItem Metadata only รายงานการศึกษาแนวทางการจัดการเศษสิ่งก่อสร้างสำหรับประเทศไทย(2550) อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย; ธัชวีร์ ลีละวัฒน์; อุษณีย์ อุยะเสถียร; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์.; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์.Publication Open Access องค์ประกอบของของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บ(2008-06) ธัชวีร์ ลีละวัฒน์; อัจฉรา อัศวรุจิกุลชัย; อุษณีย์ อุยะเสถียร; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิศวกรรมศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์งานวิจัยนี้ได้ทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บจำนวน 6 แห่งในพื้นที่เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล เพื่อทำการศึกษาถึงองค์ประกอบของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอน เพื่อให้ได้แนวโน้มการนำของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนกลับไปใช้เป็นวัสดุมวลรวมทดแทน จากการศึกษา พบว่าองค์ประกอบของของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนจากแต่ละสถานที่กองเก็บมีความแตกต่างกัน ค่อนข้างมาก องค์ประกอบหลักส่วนใหญ่ของของเสียประเภทนี้ประกอบด้วยคอนกรีตและมอร์ต้าร์ ซึ่งมีปริมาณ มากเกินกว่าร้อยละ 62 ยกเว้นของเสียที่ได้มาจากงานรื้อถอนถนนซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือแอสฟัลต์ โดยทั่วไป พบว่าของเสียจากการก่อสร้างและรื้อถอนจากสถานที่กองเก็บส่วนใหญ่จัดอยู่ในประเภทของเสียผสม