Browsing by Author "Chairat Manasatienkij"
Now showing 1 - 3 of 3
- Results Per Page
- Sort Options
Publication Metadata only Clinical application of forensic DNA analysis: A literature review(2012-10-01) Chairat Manasatienkij; Chatchawin Ra-ngabpai; Mahidol UniversityPolymorphic short tandem repeat (STR) analysis after polymerase chain reaction amplification is presently the most important analytical method of forensic DNA laboratory. Beside the forensic-purpose application, STR analysis is also necessary for chimerism testing after bone marrow or allogeneic stem cell transplantation. To increase success rate of the treatment and avoid adverse effect of the transplantation procedure, serial chimerism study has to be closely monitored. Many analytical techniques have been therefore developed to improve the accuracy and sensitivity. STR-PCR is currently the most commonly used analytical method for chimerism testing. Sensitivity of the method is about 3% of the minor DNA in a specimen. The method consumes a short period of time and is convenient due to availability of the commercial kits. High discriminative ability and well-validated interpretation procedure are the attractive characteristics of the method.Item Metadata only Determination of lead, barium and antimony by Inductively Couple Plasms-Mass Spectrometry (ICP-MS) and Scanning Electron Microscope-Energy Dispersive X-ray (SEM/EDX) on hands of occupations(Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center, 2010) Apiwadee Tongsong; Chairat Manasatienkij; Chachawin RangbphaiPublication Open Access การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง Caffeine และ Dextromethorphan ที่ระดับความเข้มข้นสูงโดย Human Liver Microsomes(2556) ชรินทร สีด้วง; ชัยรัตน์ มานะเสถียรกิจ; ชัชวิน ระงับภัย; วรวีร์ ไวยวุฒิ; Charinthon Seeduang; Chairat Manasatienkij; Chachawin Rangabphai; Worawee Waiyawuth; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชานิติเวชศาสตร์; กระทรวงยุติธรรม. สถาบันนิติวิทยาศาสตร์Dextromethorphan เป็นยาที่มีโครงสร้างเป็นอนุพันธ์ isomer แบบ dextro-rotatory ของยาแก้ปวดกลุ่ม opioid หลังการรับประทานยาในมนุษย์ ยา dextromethorphan จะเกิดปฏิกิริยา demethylation โดยเอนไซม์ cytochrom P450 ทาง CYP2D6 ไปเป็น dextrorphan ในปัจจุบันยา dextromethorphan นิยมนำมาใช้เป็นยารักษาอาการไอ เนื่องจากมีฤทธิ์ยับยั้งศูนย์การไอ medullary ในสมองส่วนกลาง โดยการใช้ยา dextromethorphan ในช่วงระดับการรักษา ไม่มีผลทำให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้มมีความสุข ลดอาการเจ็บปวด หรือเกิดอาการพิษอื่นๆ แต่อย่างไรก็ตามมีการนำยา dextromethorphan มาใช้ในทางที่ผิดเพื่อหวังผลในการเคลิบเคลิ้มมีความสุข โดยพบว่า การใช้ยา dextromethorphan ที่ขนาดยามากกว่า 360 mg ร่วมกับยาเสพติดอื่น เช่น กระท่อม หรือยานอนหลับ ทำให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้มมีความสุขหรือช่วยลดอาการเจ็บปวดได้ ซึ่งในประเทศไทยพบจำนวนผู้ใช้ยาในทางที่ผิดเพิ่มมากขึ้น ซึ่งบางส่วนเกี่ยวข้องกับการเสียชีวิต นอกจากนี้พบว่า นิยมใช้ยา dextromethorphan ร่วมกับ caffeine เนื่องจาก caffeine มีฤทธิ์กระตุ้นให้เกิดอาการสดชื่น กระปรี้กระเปร่า และสามารถหาซื้อได้ง่าย เนื่องจากเป็นส่วนประกอบในเครื่องดื่มหลายชนิด โดยในการศึกษานี้จะทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยา dextromethorphan และ caffeine ในหลอดทดลอง โดยสกัด dextromethorphan และเมตาบอไลท์คือ dextrorphan โดยใช้หลักการ solid phased extraction และตรวจวัดปริมาณโดยเทคนิค gas chromatography และ mass spectrometer จากผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยา dextromethorphan และ caffeine ในหลอดทดลอง พบว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงยา dextromethorphan (0.1 - 5.0 ug/ml) ถูกยับยั้งอย่างมีนัยสำคัญ (P < 0.001) โดย caffeine (10 - 100 ug/ml) แต่ไม่มีผลกับเมตาบอไลท์คือ dextrorphan จึงสรุปได้ว่าพิษวิทยาของการใช้ยาร่วมกันระหว่าง dextromethorphan กับ caffeine ที่ระดับความเข้มข้นสูง อาจส่งผลให้ปริมาณยา dextromethorphan สามารถอยู่ในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลงในร่างกายมนุษย์ยาวนานขึ้น