Browsing by Author "Chayannan Jaide"
Now showing 1 - 2 of 2
- Results Per Page
- Sort Options
Publication Metadata only Geohelminths: Public health significance(2014-01-01) Suvash Chandra Ojha; Chayannan Jaide; Natini Jinawath; Porpon Rotjanapan; Pankaj Baral; Mahidol UniversityThe worldwide prevalence of geohelminths and their unique place in evolutionary biology have attracted research focus. These major soil-transmitted intestinal nematodes that cause human diseases are the nematode roundworm (Ascaris lumbricoides), the whipworm (Trichuris trichiura) and the two hookworms (Ancylostoma duodenale and Necator americanus), often collectively referred as geohelminths. Studies of geohelminthiasis in poorly nourished children in developing regions report that geohelminths contribute to stunted growth and cognitive impairment. Insights into immunology have shed light on the modulatory role of the parasite on the host immune system and have defined the role of T cells in controlling geohelminthic infection. Recent molecular biological techniques have created an opportunity to analyse the interaction between parasites and their hosts at the molecular level. This paper is a review of the recent literature that examined the prevalence of geohelminthiasis in developing countries, the association between geohelminths in relation to public health, parasitological/diagnostic features, and therapeutic and preventive aspects of these major soil-transmitted helminth (STH) pathogens in humans. © 2014 Ojha et al.Publication Open Access ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจของผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก(2555) ชญาน์นันท์ ใจดี; เสริมศรี สันตติ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล; Chayannan Jaide; Sermsri Santati; Chuanruedee Kongsaktrakul; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีการวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้โอกาส เสี่ยงของการเกิดโรค การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับรู้ อุปสรรคของการปฏิบัติ การได้รับข้อมูลข่าวสาร กับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ระบบหายใจของผู้ดูแลเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็ก ภายใต้กรอบทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุข ภาพของเบคเกอร์ เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดูแลเด็ก ในสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 145 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบหายใจ การได้รับข้อมูลข่าวสาร และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลัน ระบบหายใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สห สัมพันธ์แบบอันดับของสเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ ของการปฏิบัติ และการได้รับข้อมูลข่าวสารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการป้องกัน โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ มีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตาม การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม การป้องกันโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจทางสถิติ จากผลการศึกษาเสนอแนะว่าหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องควรจัดทำโปรแกรมส่งเสริมและสนับสนุนพฤติกรรมการป้องกันโรคของผู้ดูแลเด็กที่ เน้นเรื่องการเพิ่มการรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติ การรับรู้อุปสรรค ของการปฏิบัติ และการได้รับข้อมูลข่าวสารเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ดูแลเด็กมีพฤติกรรม การป้องกันโรคที่ดี ซึ่งจะนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีของเด็กในสถานรับเลี้ยงเด็กต่อไป