Publication: Quantitative evaluation of cellular intensity in cytologic staining over difference time period of post air-dried smear in canine mammary gland tumor
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Veterinary Science Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.1 (Jan- Apr 2018), 39-48
Suggested Citation
Jeerasak sri-in, Pattita Ruayaree, Panpaga Sangsuriya, Panop wilainam, Parin Suwannaprapha, จีรศักดิ์ ศรีอินทร์, ปทิตตา รวยอารี, พรรณพงา เเสงสุริยะ, ภานพ วิไลนาม, ปริญ สุวรรณประภา Quantitative evaluation of cellular intensity in cytologic staining over difference time period of post air-dried smear in canine mammary gland tumor. Journal of Applied Animal Science. Vol.11, No.1 (Jan- Apr 2018), 39-48. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/53988
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Quantitative evaluation of cellular intensity in cytologic staining over difference time period of post air-dried smear in canine mammary gland tumor
Alternative Title(s)
การประเมินเชิงปริมาณค่าความเข้มของเซลล์ในการย้อมสีทางเซลล์วิทยาในระยะเวลาที่แตกต่างกัน หลังการสเมียร์และทำให้แห้งในเนื้องอกเต้านมสุนัข
Abstract
Diagnostic cytology is an initial laboratory testing to diagnose various types of cancer, infections and
inflammatory diseases. The collection and processing of cytological specimens are very important to produce
good quality specimens for accurate and reliable cytological interpretations. In this study, 208 cytologic
specimens were obtained from 26 dogs that have diagnosed of canine mammary gland tumors. The quantitative
of cellular intensity in staining quality was evaluated in varying interval time of post air-dried smear by usage
of light microscope and computer software. The results showed that the intensity of cells, nucleus, cytoplasm,
and the percentage of neoplastic cells with distinct cell boundaries, which were parameters indicating staining
quality, were statistical significant at all period of post air-dried smear when compared to specimens immediately stained (p<0.05). In conclusion, the results were demonstrated that any delay in staining post air-dried smears affected the cellular intensity and consequence adversely affected the quality of cytologic specimens.
การวินิจฉัยทางเซลล์วิทยาเป็นการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นต้น ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยมะเร็ง โรคติดเชื้อ และการอักเสบ ขั้นตอนการเก็บเเละเตรียมตัวอย่างเพื่อส่งตรวจมีความสำคัญมาก เนื่องจากขั้นตอนดังกล่าวจะส่งผลต่อสุขภาพตัวอย่างและส่งผลต่อความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยทางเซลล์วิทยา ในการศึกษาครั้งนี้มีตัวอย่างส่งตรวจทางเซลล์วิทยาจำนวน 208 ตัวอย่างที่เก็บจากก้อนเนื้อบริเวณเต้านมของสุนัขจำนวน 26 ตัว ที่เข้ารับการผ่าตัดเนื้องอกเต้านม ณ โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ถูกนำมาศึกษาการประเมินคุณภาพเชิงปริมาณค่าความเข้มขอเซลล์การติดสีหลังการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศ ในระยะเวลาที่แตกต่างกันโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการตรวจวัดค่าความเข้มของเซลล์ นิวเคลียส ไซโตพลาสซึมและร้อยละของจำนวนเซลล์มะเร็งที่เห็นขอบเขตเซลล์ชัดเจน ซึ่งค่าดังกล่าวเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการย้อมสีของตัวอย่างที่ส่งตรวจทางเซลล์วิทยา โดยผลการทดลองพบว่าค่าความเข้มของเซลล์นิวเคลียส ไซโตพลาสซึมและร้อยละของจำนวนเซลล์มะเร็งที่เห็นขอบเขตเซลล์ได้ชัดเจนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกช่วงเวลาหลังการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศ เมื่อเทียบกับตัวอย่างที่ทำการเก็บและย้อมสีตรวจทันที ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการส่งตรวจตัวอย่างที่ล่าช้าหลังจากการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศส่งผลต่อค่าความเข้มของเซลล์และคุณภาพตัวอย่างในการย้อมสีทางเซลล์วิทยา
การวินิจฉัยทางเซลล์วิทยาเป็นการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการขั้นต้น ซึ่งใช้ในการวินิจฉัยมะเร็ง โรคติดเชื้อ และการอักเสบ ขั้นตอนการเก็บเเละเตรียมตัวอย่างเพื่อส่งตรวจมีความสำคัญมาก เนื่องจากขั้นตอนดังกล่าวจะส่งผลต่อสุขภาพตัวอย่างและส่งผลต่อความถูกต้องแม่นยำในการวินิจฉัยทางเซลล์วิทยา ในการศึกษาครั้งนี้มีตัวอย่างส่งตรวจทางเซลล์วิทยาจำนวน 208 ตัวอย่างที่เก็บจากก้อนเนื้อบริเวณเต้านมของสุนัขจำนวน 26 ตัว ที่เข้ารับการผ่าตัดเนื้องอกเต้านม ณ โรงพยาบาลสัตว์ประศุอาทร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ถูกนำมาศึกษาการประเมินคุณภาพเชิงปริมาณค่าความเข้มขอเซลล์การติดสีหลังการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศ ในระยะเวลาที่แตกต่างกันโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในการตรวจวัดค่าความเข้มของเซลล์ นิวเคลียส ไซโตพลาสซึมและร้อยละของจำนวนเซลล์มะเร็งที่เห็นขอบเขตเซลล์ชัดเจน ซึ่งค่าดังกล่าวเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการย้อมสีของตัวอย่างที่ส่งตรวจทางเซลล์วิทยา โดยผลการทดลองพบว่าค่าความเข้มของเซลล์นิวเคลียส ไซโตพลาสซึมและร้อยละของจำนวนเซลล์มะเร็งที่เห็นขอบเขตเซลล์ได้ชัดเจนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกช่วงเวลาหลังการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศ เมื่อเทียบกับตัวอย่างที่ทำการเก็บและย้อมสีตรวจทันที ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการส่งตรวจตัวอย่างที่ล่าช้าหลังจากการสเมียร์และทำให้แห้งด้วยอากาศส่งผลต่อค่าความเข้มของเซลล์และคุณภาพตัวอย่างในการย้อมสีทางเซลล์วิทยา