Publication: ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินและคุณภาพน้ำผิวดิน ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
ISSN
1906-2257
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 43-56
Suggested Citation
กัณธิตา ปวีณสกล, พีรวัส ชินตระกูลชัย, ธนศักดิ์ ช่างบรรจง ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินและคุณภาพน้ำผิวดิน ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม. Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2558), 43-56. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1709
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินและคุณภาพน้ำผิวดิน ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม
Alternative Title(s)
Biodiversity of benthic macroinvertebrates and surface water quality at Mahidol University, Nakhon Pathom Province
Abstract
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินและคุณภาพน้ำผิวดิน ได้ดำเนินการระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน 2558 โดยเก็บตัวอย่างจาก 5 จุดสำรวจ ภายในมหาวิทยาลัยมหิดล จังหวัดนครปฐม ทำการประเมินคุณภาพน้ำโดยการตรวจวัดพารามิเตอร์คุณภาพน้ำทางกายภาพและเคมี ร่วมกับวิเคราะห์องค์ประกอบของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน และดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพ จากนั้นหาความสัมพันธ์ของดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพกับค่าพารามิเตอร์คุณภาพน้ำ ผลการศึกษาพบว่า สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน จำนวนทั้งสิ้น 2,641 ตัว จำแนกได้ 16 วงศ์ 10 อันดับ วงศ์ที่มีจำนวนสมาชิกมากที่สุด คือ Corixidae อยู่ในอันดับ Hemiptera ค่าพารามิเตอร์คุณภาพน้ำส่วนใหญ่แสดงให้เห็นว่าน้ำผิวดินในพืนที่ศึกษาทั้งหมดยังคงมีความเหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของสัตว์น้ำ จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า อุณหภูมิ ออกซิเจนที่ละลายในน้ำ (DO) และความเป็นกรด-ด่าง (pH) มีความสัมพันธ์กับดัชนีความหลากหลายของชนิด (P<0.01) ดังนั้น สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินสามารถนำมาใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวภาพสำหรับการประเมินคุณภาพน้ำได้
A study on the biodiversity of benthic macroinvertebrates and surface water quality was carried out from February to April 2015 in five sampling sites located within Mahidol University, Nakhon Pathom Province. Water quality was assessed using physiochemical parameters in combination with macroinvertebrate composition and biodiversity indices. Correlations of biodiversity indices and physiochemical parameters were also determined. A total of 2,641 benthic macroinvertebrates from 16 families in 10 orders were collected and identified. The most abundant family was Corixidae in the order Hemiptera. Most of physiochemical parameters indicated that surface water in all study sites were still suitable for aquatic animals. The correlation analysis showed that temperature, dissolved oxygen (DO) and pH correlated with diversity index (P<0.01). Thus, benthic macroinvertebrates can be used as a biological indicator for the assessment of water quality.
A study on the biodiversity of benthic macroinvertebrates and surface water quality was carried out from February to April 2015 in five sampling sites located within Mahidol University, Nakhon Pathom Province. Water quality was assessed using physiochemical parameters in combination with macroinvertebrate composition and biodiversity indices. Correlations of biodiversity indices and physiochemical parameters were also determined. A total of 2,641 benthic macroinvertebrates from 16 families in 10 orders were collected and identified. The most abundant family was Corixidae in the order Hemiptera. Most of physiochemical parameters indicated that surface water in all study sites were still suitable for aquatic animals. The correlation analysis showed that temperature, dissolved oxygen (DO) and pH correlated with diversity index (P<0.01). Thus, benthic macroinvertebrates can be used as a biological indicator for the assessment of water quality.