Publication:
การบูรณาการข้อมูลวัฒนธรรมสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการอยู่ร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรม

dc.contributor.authorนันธิดา จันทรางศุen_US
dc.contributor.authorNantida Chandransuen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทen_US
dc.date.accessioned2020-06-05T06:56:40Z
dc.date.available2020-06-05T06:56:40Z
dc.date.created2563-06-05
dc.date.issued2560
dc.description.abstractบทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของแผนงานวิจัยการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กและเยาวชนบนฐานความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อบูรณาการข้อมูลทางวัฒนธรรมชุมชนในอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สู่การจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กและเยาวชนมีทักษะการอยู่ร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรม (2) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการหนุนเสริมการทำงานพัฒนาเด็กและเยาวชนและเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ให้กับเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ 60 คน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำงานในชุมชน 15 คน ผลการดำเนินการวิจัย พบว่า การบูรณาการข้อมูลทางวัฒนธรรมชุมชนสู่การจัดการเรียนรู้ ดำเนินการได้หลายลักษณะและควรเปิดกว้างให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นกับชุมชนผ่านการเรียนรู้เชิงประสบการณ์จนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง องค์ประกอบสำคัญของการสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่ ระดับการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน การวางบทบาทหน้าที่และความพร้อมของในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ การกำหนดบทบาทชุมชนในการมีส่วนร่วมทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อเป็นการเสริมสร้างและปลูกฝังให้คนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจสภาวการณ์ ปัญหา เพื่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงและความหลากหลายทางวัฒนธรรมen_US
dc.description.abstractThis article is part of a larger research workaimed at developing a learning process for children and youth based on cultural diversity, with the following objectives: 1) to integrate cultural information found in Putthamonthon district, Nakhon Pathom province into a community-based participation learning process, so as to enhance youth and children’sskills in co-existing in a multicultural society, and 2) to build a supportive community participation scheme for children and youth development and to enhance the scope of knowledge and understanding regarding cultural diversity in the community along with partnership networks using participatory action research methodology through a multicultural education pedagogical approach, and experiential learning. Participatory Action Research (PAR) was employed to collect data and develop learning activities for sixty youths and fifteen associated individuals.The results revealed that the integration of community’s cultural information into the curriculum can be accomplished in multiple ways and should allow youth and children opportunities to direct themselves towards experientially learning about and understanding cultural diversity in their community. The extent to which youth and children actively participate inand are prepared to learn throughactivities, and determine roles for both direct and indirect participation in the community were important considerations in creating such a learning program. These factors raised community members’ awareness of their current situation and problems suchthat they were better able to adapt to cultural changes and diversity.en_US
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 36, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2560), 69-93en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/56381
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมen_US
dc.subjectพหุวัฒนธรรมศึกษาen_US
dc.subjectการเรียนรู้เชิงประสบการณ์en_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนen_US
dc.subjectParticipatory learningen_US
dc.subjectMulticultural educationen_US
dc.subjectExperiential learningen_US
dc.subjectCommunity engagementen_US
dc.subjectวารสารภาษาและวัฒนธรรมen_US
dc.subjectJournal of Language and Cultureen_US
dc.titleการบูรณาการข้อมูลวัฒนธรรมสู่การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการอยู่ร่วมในสังคมพหุวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeIntegration of cultural information into a community-based participation learning process to enhance youth and children’s coexistence skills in a multicultural societyen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/issue/view/9471/JLC

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
lc-ar-nantida-2560.pdf
Size:
589.49 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections